โดย อ. ปราโมทย์ ศรีอุทัย
:: ตอนที่ 1 ::
(เรื่องนี้ มีทั้งหมด 6 ตอนด้วยกัน)
--------------------------
คำนำ
بِسْـمِ اللهِ الرَّحْمَـنِ الرَّحِـيْمِ
اَلْحَمْدُ للهِ وَحْدَهُ، وَالصَّلاَةُ وَالسَّلاَمُ عَلَى مَنْ لاَ نَبِيَّ بَعْدَهُ أَمَّا بَعْدُ ...
การซินาหรือการผิดประเวณีอั
ปัญหาการนิกาห์ของคนที่ทำซิ
เมื่อก่อนผมมองว่า ปัญหานี้เป็นปัญหา سَدُّ الْبَابِ คือ .. ไม่สมควรนำมาฟัตวากันอย่างเ
ทว่าในปัจจุบันนี้ การซินามีการระบาดอย่างแพร่
และปัญหาข้างต้นนี้ - เท่าที่ทราบ - ก็มีการถามการตอบกันอย่างเป
เพราะฉะนั้นไม่ว่าผลการตอบจ
อันเนื่องมาจากปัญหานี้เป็น
จะอย่างไรก็ตาม ผู้เขียนยืนยันได้ว่า ข้อเขียนนี้ - ในเรื่องนี้ - ไม่ได้ออกนอกกรอบจากทัศนะขอ
وَبِاللهِ التَّوْفِيْقُ وَالْهِدَايَةُ
(1). ซินา (اَلزِّنَى) คืออะไร ?
คำว่าซินาตามหลักภาษาหมายถึ
ส่วนความหมายซินาตามบทบัญญั
وَطْ ءُ الرَّجُلِ امْرَأَةً فِىْ فَرْجِهَا مِنْ غَيْرِ نِكَاحٍ وَلاَ شُبْهَةِ نِكَاحٍ ِبُمَطَاوَعَتِهَا
“การที่ผู้ชาย ร่วมเพศกับผู้หญิงใดทางอวัย
(จากหนังสือตัฟซีรฺ “อัล-กุรฺฏุบีย์” เล่มที่ 6 หน้า 286) ...
จะเห็นได้ว่า นิยามของคำว่า ซินา จะประกอบขึ้นจากเงื่อนไขหลั
1. เป็นการร่วมเพศกับสตรีทางอว
2. ไม่ได้ผ่านการนิกาห์กันก่อน
3. ไม่ใช่เป็น شُبْهَةُ نِكَاحٍ .. คือ เข้าใจผิดว่าเป็นการนิกาห์อ
4. ด้วยการยินยอมพร้อมใจของผู้
หมายเหตุ
ก. คำว่า فَرْجٌ .. แม้โดยทั่วไปจะหมายถึงอวัยว
ข. คำว่า شُبْهَةُ نِكَاحٍ، หรือ شُبْهَةُ عَقْدٍ (สิ่งที่คลุมเครือกับการนิก
مَا وُجِدَ فِيْهِ الْعَقْدُ صُوْرَةً، لاَ حَقِيْقَتَهُ، كَالزِّوَاجِ بِغَيْرِ شُهُوْدٍ
“สิ่งซึ่งเป็นการนิกาห์โดยร
(จากหนังสือ “มุอฺญัมลุเฆาะติลฟุเกาะฮาอ
จากคำนิยามของซินาข้างต้น จึงทำให้เกิดหุก่มเกี่ยวกับ
1. การมีเพศสัมพันธ์ทางปากกับส
2. การที่สามีร่วมเพศกับภรรยาท
3. การที่สามี ร่วมเพศกับภรรยาที่นิกาห์กั
การลิวาฏ เป็นเรื่องต้องห้ามตามหลักก
4. ถ้าผู้ชายร่วมเพศกับผู้หญิง
5. ผู้หญิงที่ถูกบังคับขืนใจ ไม่ถือว่านางทำซินา แม้ว่าผู้ชายที่ขืนใจนางจะเ
(2). ผลกระทบบางประการจากการซินา
อิสลามถือว่า การซินาเป็นความผิดร้ายแรงท
ท่านอบูฏ็อยยิบ มุหัมมัด อัล-อาบาดีย์ ได้กล่าวอธิบายกรณีผู้ชายที
وَأَبَى ذَلِكَ الْجُمْهُوْرُ، وَحُجَّتُهُمْ أَنَّ النِّكَاحَ فِى الشَّرْعِ إِنَّمَا يُطْلَقُ عَلَى الْمَعْقُوْدِ عَلَيْهَا، لاَ عَلَى مُجَرَّدِ الْوَطْءِ، وَأَيْضًا فَالزِّنَا لاَ صَدَاقَ لَهُ وَلاَ عِدَّةَ وَلاَ مِيْرَاثَ ..
“นักวิชาการส่วนใหญ่ได้ปฏิเ
(จากฟุตโน้ตของท่านอบูฏ็อยย
ความหมายคำกล่าวข้างต้นก็คื
ยิ่งไปกว่านั้น การซินาในทัศนะญุมฮูรฺ ไม่วาญิบต้องให้มะฮัรฺแก่ผู
จำข้อความตรงนี้ที่ว่า .. นาง (สตรีที่ซินา) ไม่จำเป็นต้องมีอิดดะฮ์ ..ให้ดี เพราะจะเป็นตัวเฉลยคำตอบปัญ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น