โดย อ.ปราโมทย์ ศรีอุทัย
(3). ความแตกต่างระหว่างนิกาห์ถา
ในตอนต้น ผมได้อธิบายให้ทราบแล้วถึงค
ตอนนี้ ผมจะขออธิบายรายละเอียดของ “ความแตกต่าง” ระหว่างนิกาห์มุตอะฮ์ของชีอ
1. ความแตกต่างใน “บทบัญญัติ” ระหว่างนิกาห์ถาวรของซุนนีย
2. ความแตกต่างใน “รุก่นนิกาห์” และ “เงื่อนไข” ของนิกาห์ทั้งสอง, ...
3. ความแตกต่างใน “ผลพวง”ที่จะติดตามมาหลังกา
ทั้งนี้เพื่อท่านผู้อ่านจะไ
3.1 ความแตกต่างในบทบัญญัติ
สำหรับความแตกต่างใน “บทบัญญัติ” ระหว่างนิกาห์ถาวรกับนิกาห์
ส่วนนิกาห์มุตอะฮ์ ชาวซุนนีย์เห็นพ้องกันว่า เป็นสิ่งที่ไม่มีบทบัญญัติส
แม้ว่าท่านศาสดาจะผ่อนผันให
นี่คือ “มติเอกฉันท์” ของนักวิชาการซุนนีย์ แม้กระทั่งผู้ที่เห็นตรงกับ
ข้อนี้แตกต่างจากความเชื่อข
หลักฐานอนุญาตนิกาห์มุตอะฮ์
ในอายะฮ์ที่ 24 ซูเราะฮ์อัน-นิซาอ์ พระองค์อัลลอฮ์ ซ.บ. ได้กล่าวไว้ตอนหนึ่งว่า
فَمَا اسْتَمْتَعْتُمْ بِهِ مِنْهُنَّ فَآتُوْهُنَّ أُجُوْرَهُنَّ فَرِيْضَةً .....
“ดังนั้น อันใดที่พวกเจ้าเสพสุขมันจา
นักวิชาการชีอะฮ์อธิบายว่า โองการดังกล่าวนี้ เป็นบทบัญญัติเรื่องนิกาห์ม
ประการที่หนึ่ง คำว่า إِسْتَمْتَعْتُمْ (พวกเจ้าเสพสุข) มีที่มาจากรากศัพท์เดียวกัน
ประการที่สอง คำว่า أُجُوْرَهُنَّ (ค่าตอบแทนของพวกนาง) นักวิชาการชีอะฮ์อธิบายว่าห
เพราะถ้าเป็นมะฮัรฺ พระองค์อัลลอฮ์ก็ต้องกล่าวว
ประการสุดท้าย มีรายงานว่า ท่านอิบนุอับบาส ร.ฎ. ท่านอุบัยย์ บินกะอฺบิน ร.ฎ., ท่านสะอีด บินญุบัยรฺ และท่านอัซ-ซะดีย์ ได้อ่านเพิ่มเติมหลังจากคำว
ชีอะฮ์อธิบายว่า ข้อความนี้ แสดงว่าโองการข้างต้นเป็นบท
โต้แย้ง
ข้ออ้างดังกล่าวของชีอะฮ์ - ทั้ง 3 ประการ - ถือว่ายังไม่สมบูรณ์ในแง่ขอ
เพราะในความเป็นจริงนักอรรถ
เพราะฉะนั้น คำพูดของเช็คอัต-ตีญานีย์ จากคำแปลในหนังสือ “ขออยู่กับผู้สัตย์จริง” หน้า 281 ที่ว่า ..
“อะฮ์ลิซซุนนะฮ์วัล-ญะมาอะฮ
จึงเป็นเรื่องของการโกหกเพื
ยิ่งถ้าเราอ่านและพิจารณาซู
คำอธิบายเพื่อโต้แย้งข้ออ้า
(1). ก่อนอื่นเรามาตั้งคำถามกันก
คำตอบก็คือ ไม่มีแม้แต่บทเดียว ...
นี่คือสิ่งที่เห็นพ้องกันระ
เพราะฉะนั้น - ตามพื้นฐานแล้ว - สตรีทั้งที่ห้ามแต่งงานและท
ในอายะฮ์ที่ 22-23 พระองค์อัลลอฮ์ ซ.บ.ได้กล่าวถึงสตรีที่ห้าม
ในตอนต้นอายะฮ์ที่ 24 พระองค์อัลลอฮ์ ซ.บ.ได้กล่าวถึงสตรีที่ห้าม
แล้วในตอนท้ายอายะฮ์ที่ 24 พระองค์อัลลอฮ์ ซ.บ.ก็กล่าวต่อไปว่า ...
وَأُحِلَّ لَكُمْ مَاوَرَآءَ ذَلِكُمْ أَنْ تَبْتَعُوْا بِأَمْوَالِكُمْ مُحْصِنِيْنَ غَيْرَ مُسَافِحِيْنَ فَمَا اسْتَطَعْتُمْ بِهِ مِنْهُنَّ فَآتُوْهُنَّ أُجُوْرَهُنَّ فَرِيْضَةً ....
“และได้ถูกอนุมัติแก่พวกเจ้
สตรีที่ห้ามผู้ชายนิกาห์ด้ว
เพราะฉะนั้นพระดำรัสตอนท้าย
(2). สำหรับคำอธิบายของชีอะฮ์ที่
ขอเรียนชี้แจงว่า ...
คำว่า إِسْتَمْتَعْتُمْ ในโองการนี้มีความหมายว่า “พวกเจ้าเสพสุข” หรือ “พวกเจ้าหาความสุข” .. อันบ่งบอกเป็นนัยถึงการหาคว
ความสุขจากการมีเพศสัมพันธ์
หรือชีอะฮ์จะให้เข้าใจว่า ความสุขจากเพศสัมพันธ์นี้ มีได้จากนิกาห์มุตอะฮ์เท่าน
ชีอะฮ์เอาหลักฐานที่ไหนมาจำ
ส่วนข้ออ้างที่ว่า คำว่า إِسْتَمْتَعْتُمْ และคำว่า مُتْعَةٌ มีที่มาจากรากศัพท์เดียวกัน
เพราะการที่พระองค์อัลลอฮ์ ซ.บ.ทรงกล่าวว่า إِسْتَمْتَعْتُمْ ในโองการนี้ก็เพื่อประสงค์ค
ยิ่งไปกว่านั้น คำศัพท์ที่ว่า “مُتْعَةٌ” นี้ ไม่มีปรากฏแม้แต่คำเดียวในอ
เพราะฉะนั้น เหตุผลที่ชีอะฮ์นำมาอ้างเพื
(3). ส่วนข้ออ้างของชีอะฮ์ที่ว่า
ขอเรียนชี้แจงว่า การสื่อความหมายของคำว่า มะฮํรฺ (مَهْرٌ) ซึ่งหมายถึงสิ่งที่ผู้ชายมอ
และตามข้อเท็จจริง มะฮัรฺก็คือ “ค่าตอบแทน” ที่ผู้ชายมอบให้กับผู้หญิงท
ด้วยเหตุนี้ พระองค์อัลลอฮ์ ซ.บ.จึงใช้คำว่า أُجُوْرَهُنَّ (ค่าตอบแทนของพวกนาง) ที่หมายถึง “มะฮัรฺ” ในโองการอื่นจากโองการนี้อี
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น