โดยอ. ปราโมทย์ ศรีอุทัย
สรุปแล้ว ไม่มีหลักฐานจากหะดีษที่เคาะเหี้ยะห์บทใด ที่จะมาเป็น “ชาฮีด” หรือเป็นหลักฐานสนับสนุนหะดีษ ดัลกีนของท่านอบี อุมามะฮ์ ร.ฎ.อย่างที่ท่านผู้เขียนได้อ้าง
เอาไว้เลย -..
ข. การอ้างว่า “หะดีษตัลกีนนี้ ยังได้รับการสนุบสนุน จากอัลกุรฺอาน” ...
และอัลกุรฺอานที่ท่านได้ยกมาเป็นหลักฐานสนับสนุน เริ่องการอ่านตัลก็นของท่านนั้น ก็ได้แก่โองการที่ 55 จาก ชูเราะฮ์ อัล ชฺารืยาด ที่ว่า ..
. وَذَكِّرْ فَإِنَّ الذِّكْرَىٰ تَنفَعُ الْمُؤْمِنِينَ
“ด้งนั้น จงตักเตือนเถิด, เพราะการตักเตือนจะยัง ประโยชน์ให้แก่บรรดาผู้ศรัทธา”
เสร็จแล้ว ท่านก็ได้อธิบายต่อไปในหน้า 185 ว่า ..- “คำว่า “มุอฺมีนีน” ในโองการนี้ มีความหมายรวมถึง มุอฺมีนีนที่ตายแล้ว และที่ยังไม่ตาย”
นี้เป็นการอธิบายอัล กุรฺอานเอาเองโดยพลการ เพียง เพื่อชักลากเข้าหาเป้าหมายของตัวเอง ซึ่งเป็นเรี่องที่น่า หวั่นเกรงมากจากสัญญาลงโทษที่ท่านรชูลุลลอฮ์ ซ.ล.ได้ เคยกล่าวเอาไว้ว่า ผู้ใดอธิบายอัลกุรฺอานไปตามอารมณ์ ของตนเอง ก็ให้เขาจงเตรียมที่อยู่ในนรกได้
ผู้เขียนเองไม่เคยได้รู้หรือได้เห็นแม้กระทั่งเดึ๋ยวนี้ว่า จะมีนักอธิบายความหมายของอัลกุรฺอานหรือ “มุฟัซซีรียน” ท่านใด จะอธิบายโองนี้ไว้ในลักษณะอย่างนี้, นอกจากนัก วิชาการฟิกฮ์มัสอับชาฟิอีย์บางท่านเท่านั้นที่ถือโอกาสนำ เอาอายะฮ์อัล กุรฺอานบทนี้มาเป็นหลักฐานในเรื่องตัลกีน แล้วก็ขยายความเอาเองตามใจชอบ ...
จรงอยู่ คำว่า “มุอฺมินีน” ในอายะฮ์ดังกล่าวซึ่งแปลว่า “บรรดาผู้ที่ศรัทธา” จะเป็นถ้อยคำที่มีความหมายกว้าง ๆ ตามหลักภาษา, คือไม,จำกัดว่าจะเป็นผู้ศรัทธาทียังมีชีวิตอยู่ หรือตายไปแล้ว แต่เจตนารมณ์ของพระองคํอัลลอฮ์ ซ.บ. จากอายะฮ์หรือโองการนี้ หมายถึงให้พวกเราตักเตือนผู้ที่ ยังมีชีวิตอยู่ อันเป็นความหมายที่สามารถจะเข้าใจได้โดย อัตโนมัตสำหรับมุสลิมผู้มีสติสัมปชัญญะทุกคน เพราะถ้าหาก เราจะเอากันตามหลักภาษาจริง ๆ, คือให้ช่วยกันตักเตือน ทั้งผู้ที่ยังมีชีวิตอยู่และผู้ที่ตายไปแล้ว เราจะว่าอย่างไรกับ อายะฮ์ที่ 103 ซูเราะฮ์อัน นิชาอฺ ที่ว่า ...
إِنَّ الصَّلَاةَ كَانَتْ عَلَى الْمُؤْمِنِينَ كِتَابًا مَّوْقُوتًا
“แท้จริง การนมาชนั้น เป็นบทบัญญ้ติ (ฟ้เรฺสู) ที่ถูก กำหนดเวลาแก่บรรดาผู้ศรัทธาทั้งหลาย”
ในที่นี้ พระองค์อัลลอฮ์ ช.บ.ไดใช้คำว่า “มุอฺมีนิน” อย่างเดียวกันกับอายะฮ์ก่อน ตังนั้น หากเราจะอ้างหลักภาษา เหมือนอย่างที่เคยอ้างกันไว้ในเรืองตัลกีน คือมุอมีนีน นั้นมีความหมายรวมถึงมุอมีนีนที่ตายแล้ว และยังไม่ตายก็ต้องหมายความว่า พวกเราผุ้ศรัทธา ทั้งหลายที่นอนอยู่ในหลุมฝังศพนัน วาญิบต้องนมาซ 5 เวลาเหมือนบรรดามุมีนีนที่ยังมีชีวิตอยู่...
เราจะเอากันอย่างนี้หรือ..?
11 . มีกล่าวในหน้า 210 ..ว่าไม่มีอูละมาอหะดิษหรืออูลามะอ์ฟิกฮ์ท่านใดที่ถือว่า หะดิษอบี อุมามะฮ์นั้น เป็ฯหะดิษเก๊”
บางที่ ท่านผุ้เขียนอาจจะเคยเห็น แต่คงจะลืมหรือแกล้งทำลืมไปว่า ท่านศอนอานีย์ได้มีกล่าวไว้ใน “สุบุลุส สลาม”ว่า...
เอาไว้เลย -..
ข. การอ้างว่า “หะดีษตัลกีนนี้ ยังได้รับการสนุบสนุน จากอัลกุรฺอาน” ...
และอัลกุรฺอานที่ท่านได้ยกมาเป็นหลักฐานสนับสนุน เริ่องการอ่านตัลก็นของท่านนั้น ก็ได้แก่โองการที่ 55 จาก ชูเราะฮ์ อัล ชฺารืยาด ที่ว่า ..
. وَذَكِّرْ فَإِنَّ الذِّكْرَىٰ تَنفَعُ الْمُؤْمِنِينَ
“ด้งนั้น จงตักเตือนเถิด, เพราะการตักเตือนจะยัง ประโยชน์ให้แก่บรรดาผู้ศรัทธา”
เสร็จแล้ว ท่านก็ได้อธิบายต่อไปในหน้า 185 ว่า ..- “คำว่า “มุอฺมีนีน” ในโองการนี้ มีความหมายรวมถึง มุอฺมีนีนที่ตายแล้ว และที่ยังไม่ตาย”
นี้เป็นการอธิบายอัล กุรฺอานเอาเองโดยพลการ เพียง เพื่อชักลากเข้าหาเป้าหมายของตัวเอง ซึ่งเป็นเรี่องที่น่า หวั่นเกรงมากจากสัญญาลงโทษที่ท่านรชูลุลลอฮ์ ซ.ล.ได้ เคยกล่าวเอาไว้ว่า ผู้ใดอธิบายอัลกุรฺอานไปตามอารมณ์ ของตนเอง ก็ให้เขาจงเตรียมที่อยู่ในนรกได้
ผู้เขียนเองไม่เคยได้รู้หรือได้เห็นแม้กระทั่งเดึ๋ยวนี้ว่า จะมีนักอธิบายความหมายของอัลกุรฺอานหรือ “มุฟัซซีรียน” ท่านใด จะอธิบายโองนี้ไว้ในลักษณะอย่างนี้, นอกจากนัก วิชาการฟิกฮ์มัสอับชาฟิอีย์บางท่านเท่านั้นที่ถือโอกาสนำ เอาอายะฮ์อัล กุรฺอานบทนี้มาเป็นหลักฐานในเรื่องตัลกีน แล้วก็ขยายความเอาเองตามใจชอบ ...
จรงอยู่ คำว่า “มุอฺมินีน” ในอายะฮ์ดังกล่าวซึ่งแปลว่า “บรรดาผู้ที่ศรัทธา” จะเป็นถ้อยคำที่มีความหมายกว้าง ๆ ตามหลักภาษา, คือไม,จำกัดว่าจะเป็นผู้ศรัทธาทียังมีชีวิตอยู่ หรือตายไปแล้ว แต่เจตนารมณ์ของพระองคํอัลลอฮ์ ซ.บ. จากอายะฮ์หรือโองการนี้ หมายถึงให้พวกเราตักเตือนผู้ที่ ยังมีชีวิตอยู่ อันเป็นความหมายที่สามารถจะเข้าใจได้โดย อัตโนมัตสำหรับมุสลิมผู้มีสติสัมปชัญญะทุกคน เพราะถ้าหาก เราจะเอากันตามหลักภาษาจริง ๆ, คือให้ช่วยกันตักเตือน ทั้งผู้ที่ยังมีชีวิตอยู่และผู้ที่ตายไปแล้ว เราจะว่าอย่างไรกับ อายะฮ์ที่ 103 ซูเราะฮ์อัน นิชาอฺ ที่ว่า ...
إِنَّ الصَّلَاةَ كَانَتْ عَلَى الْمُؤْمِنِينَ كِتَابًا مَّوْقُوتًا
“แท้จริง การนมาชนั้น เป็นบทบัญญ้ติ (ฟ้เรฺสู) ที่ถูก กำหนดเวลาแก่บรรดาผู้ศรัทธาทั้งหลาย”
ในที่นี้ พระองค์อัลลอฮ์ ช.บ.ไดใช้คำว่า “มุอฺมีนิน” อย่างเดียวกันกับอายะฮ์ก่อน ตังนั้น หากเราจะอ้างหลักภาษา เหมือนอย่างที่เคยอ้างกันไว้ในเรืองตัลกีน คือมุอมีนีน นั้นมีความหมายรวมถึงมุอมีนีนที่ตายแล้ว และยังไม่ตายก็ต้องหมายความว่า พวกเราผุ้ศรัทธา ทั้งหลายที่นอนอยู่ในหลุมฝังศพนัน วาญิบต้องนมาซ 5 เวลาเหมือนบรรดามุมีนีนที่ยังมีชีวิตอยู่...
เราจะเอากันอย่างนี้หรือ..?
11 . มีกล่าวในหน้า 210 ..ว่าไม่มีอูละมาอหะดิษหรืออูลามะอ์ฟิกฮ์ท่านใดที่ถือว่า หะดิษอบี อุมามะฮ์นั้น เป็ฯหะดิษเก๊”
บางที่ ท่านผุ้เขียนอาจจะเคยเห็น แต่คงจะลืมหรือแกล้งทำลืมไปว่า ท่านศอนอานีย์ได้มีกล่าวไว้ใน “สุบุลุส สลาม”ว่า...
وَقَالَ فِىْ "الْمَنَارِ" : إِ نَّ حَدَيْثَ التَّلْقِيْنِ هَذَالَايَشُكُّ أَهْلُ الْمَعْرِ فَةِ بِالْحَدِيْثِ فِيْ وَضْعِهِ ـ ـ ـ وَابْنُ الْقَيِّمِ جَزَمَ فِى الْهَدْىِ بِمِثْلِ كَلا مِ الْمَنَارِ
“ท่านเจ้าของหนังสือ “อัลมะนาร” ได้กล่าวว่า..
แท้จริง หะดิษตัลกีนบทนี้ (คือ หะดิษตัลกีน ของท่านอบีอุมามะฮ รฏ) ไม่มีข้อสงสัยใดๆ เลยสำหรับผุ้ที่เข้าใจในวิชาการหะดิษในเรืองการเป็นหะดิษเก๊ ของมัน .... และท่าน อิบนุล ก๊อยยิมก็ได้แสดงความมันใจอย่างเดียวกับถ้อยคำใน”อัลมะนาร”(โดยกล่าวไว้) ในหนังสือ “อัลฮัดยุน นะบะวีย์” ของท่าน.........
( ดู สุบุลุส สลาม เล่มที 2 หน้าที่ 113 -114)
และตามรูปการนั้น ท่านอิหม่ามชาฝีฟีย์เอง ก็อาจจะไม่เคยทราบเกี่ยวกับเรื่องตัลกีนมาก่อน แต่ที่แน่ๆ ก็คือ ท่านไม่เคยอ่านตัลกีนให้แก่ใคร เรารู้เรืองนี้ได้จากคำบอกเล่าของศิษย์ของท่านผุ้หนึ่ง ซึ่งต่อมา ก็ได้กลายมาเป็นหนึงจากอีหม่ามทั้งสที่ที่โลกอิสลามให้ความเชื่อถือ นั้นคือ ท่านอีหม่ามอะหมัด อิบนุล หัมบัล.... ท่านอัลอัษร๊อม ได้กล่าวว่า.....
قُلْتُ لِأَحْمَدَ : هَذَآلَّذِىْ يَصْنَعُوْنَهُ إِذَادُفِنْ الْمَيِّ تُ يَقِفُ الرَّجُلُ وَيَقُوْلُ : يَافُلَانُ ابْنُ فُلاَ نَةَ؟ قَالَ : يَافُلَانُ ابْنُ فُلاَ نَةَ؟ قَالَ: ماَرَأَيْتُ أَحدًايفْعَلُهُإِلّاَ أَهْلَ الشَّامِ حِيْنَ مَاتَ أَ بُوْالْمُغِيْرَةِ
“ฉันใต้กล่าวแก่ท่านอะหมัดว่า ...สิ่งนี้ที่ประชาชน กำลังกระทำกันอยู่ คือเมื่อ ฝังผู้ตายเสร็จแล้ว ก็จะมีใครคนหนึ่ง ยืนขึ้นแล้วกล่าวว่า “โอ้ นาย ...บุตรของนาง ...” (ท่านจะ มีความเห็นอย่างไร?) ท่านอะห็มัดตอบว่า “ฉันไม่เคยรู้ว่า จะมีใครกระทำอย่างนี้ นอกจากชาวซีเรียในตอนที่ท่าน อบู อัลมุฆีเราะฮ์ตาย” -..
(ดู อิรวาอุล ฆอลีล เล่มที่3 หน้าที่ 205, อัตตัลคีส เล่มที่ 2 หน้า 143-144 สุบุลุส สลาม เล่มที่2 หน้า 113)
ถ้าสมมุติว่า ท่านอิหม่ามชาฟีอีย์จะเคยได้อ่านตัลกีน ให้แก่ใครมาบ้าง ท่านอิหม่ามอะห์มัด อิบนุ หัมบัลซึ่งเป็น ศิษย์ของท่านคนหนึ่ง ก็คงจะไม่กล่าวว่า “ฉันไม่เคยรู้ว่า จะมีใครกระทำอย่างนี้”, และจากคำตอบของท่านอิหม่าม อะหมัด ทำให้เราได้ทราบความจรีงอิกอย่างหนึ่งว่า ต้นกำเนิด ของการอ่านตัลก็นนั้น มาจากประเทคซีเรีย, โดยเฉพาะ จากเมืองหิมค์ ดังที่มีระบุไว้ในหนังสือ “สุบุลุส สลาม” ของท่านศ๊อนอานิย์ เล่มที่ 2 หน้า 114 -..
ก็น่าจะมาถึง “บทสรุป” เกี่ยวกับเริ่องหุกุมของการ อ่าน “ตัลกีน” ได้แล้วว่า เท่าที่ได้กล่าวมานี้ จะเห็นได้ว่า มีเพียงมัสฮับชาฝีอีย์เพียงมัสฮับเดียวเท่านั้น (ขอย้ำอิกครั้ง ว่า ไม่ใช่ตัวท่านอิหม่ามชาฝีอิย์เอง แต่หมายถึงผู้ที่อ้างว่า สังกัดมัสฮับของท่าน) ที่มีทัศนะว่า สุนัดให้อ่านตัลกีนแก่ ผู้ตาย ซึ่งตามหลักการที่แท้จริงแล้ว เราจะนำคำว่า “สุนัด” อันเป็นหนึ่งจากหกุมทั้ง 5 ของอิสลาม มาปรับใช้ไม่ได้เลย กับการอ่านตัลกีนซึ่งหลักฐานของมันเป็นหะดีษเฎาะอิฟ หรือหะดีษอ่อนมาก แถมนักวิชาการบางท่านยังถือว่า เป็น หะดีษเก๊ ดั่งที่ได้อธิบายผ่านพ้นมาแล้วในหน้า 67 ...
ส่วนในด้านทัศนะของนักวิชาการหะดีษอื่น ๆ นั้น ท่าน อาบาดีย์ ได้กล่าวไว้ว่า -..
“ท่านเจ้าของหนังสือ “อัลมะนาร” ได้กล่าวว่า..
แท้จริง หะดิษตัลกีนบทนี้ (คือ หะดิษตัลกีน ของท่านอบีอุมามะฮ รฏ) ไม่มีข้อสงสัยใดๆ เลยสำหรับผุ้ที่เข้าใจในวิชาการหะดิษในเรืองการเป็นหะดิษเก๊ ของมัน .... และท่าน อิบนุล ก๊อยยิมก็ได้แสดงความมันใจอย่างเดียวกับถ้อยคำใน”อัลมะนาร”(โดยกล่าวไว้) ในหนังสือ “อัลฮัดยุน นะบะวีย์” ของท่าน.........
( ดู สุบุลุส สลาม เล่มที 2 หน้าที่ 113 -114)
และตามรูปการนั้น ท่านอิหม่ามชาฝีฟีย์เอง ก็อาจจะไม่เคยทราบเกี่ยวกับเรื่องตัลกีนมาก่อน แต่ที่แน่ๆ ก็คือ ท่านไม่เคยอ่านตัลกีนให้แก่ใคร เรารู้เรืองนี้ได้จากคำบอกเล่าของศิษย์ของท่านผุ้หนึ่ง ซึ่งต่อมา ก็ได้กลายมาเป็นหนึงจากอีหม่ามทั้งสที่ที่โลกอิสลามให้ความเชื่อถือ นั้นคือ ท่านอีหม่ามอะหมัด อิบนุล หัมบัล.... ท่านอัลอัษร๊อม ได้กล่าวว่า.....
قُلْتُ لِأَحْمَدَ : هَذَآلَّذِىْ يَصْنَعُوْنَهُ إِذَادُفِنْ الْمَيِّ تُ يَقِفُ الرَّجُلُ وَيَقُوْلُ : يَافُلَانُ ابْنُ فُلاَ نَةَ؟ قَالَ : يَافُلَانُ ابْنُ فُلاَ نَةَ؟ قَالَ: ماَرَأَيْتُ أَحدًايفْعَلُهُإِلّاَ أَهْلَ الشَّامِ حِيْنَ مَاتَ أَ بُوْالْمُغِيْرَةِ
“ฉันใต้กล่าวแก่ท่านอะหมัดว่า ...สิ่งนี้ที่ประชาชน กำลังกระทำกันอยู่ คือเมื่อ ฝังผู้ตายเสร็จแล้ว ก็จะมีใครคนหนึ่ง ยืนขึ้นแล้วกล่าวว่า “โอ้ นาย ...บุตรของนาง ...” (ท่านจะ มีความเห็นอย่างไร?) ท่านอะห็มัดตอบว่า “ฉันไม่เคยรู้ว่า จะมีใครกระทำอย่างนี้ นอกจากชาวซีเรียในตอนที่ท่าน อบู อัลมุฆีเราะฮ์ตาย” -..
(ดู อิรวาอุล ฆอลีล เล่มที่3 หน้าที่ 205, อัตตัลคีส เล่มที่ 2 หน้า 143-144 สุบุลุส สลาม เล่มที่2 หน้า 113)
ถ้าสมมุติว่า ท่านอิหม่ามชาฟีอีย์จะเคยได้อ่านตัลกีน ให้แก่ใครมาบ้าง ท่านอิหม่ามอะห์มัด อิบนุ หัมบัลซึ่งเป็น ศิษย์ของท่านคนหนึ่ง ก็คงจะไม่กล่าวว่า “ฉันไม่เคยรู้ว่า จะมีใครกระทำอย่างนี้”, และจากคำตอบของท่านอิหม่าม อะหมัด ทำให้เราได้ทราบความจรีงอิกอย่างหนึ่งว่า ต้นกำเนิด ของการอ่านตัลก็นนั้น มาจากประเทคซีเรีย, โดยเฉพาะ จากเมืองหิมค์ ดังที่มีระบุไว้ในหนังสือ “สุบุลุส สลาม” ของท่านศ๊อนอานิย์ เล่มที่ 2 หน้า 114 -..
ก็น่าจะมาถึง “บทสรุป” เกี่ยวกับเริ่องหุกุมของการ อ่าน “ตัลกีน” ได้แล้วว่า เท่าที่ได้กล่าวมานี้ จะเห็นได้ว่า มีเพียงมัสฮับชาฝีอีย์เพียงมัสฮับเดียวเท่านั้น (ขอย้ำอิกครั้ง ว่า ไม่ใช่ตัวท่านอิหม่ามชาฝีอิย์เอง แต่หมายถึงผู้ที่อ้างว่า สังกัดมัสฮับของท่าน) ที่มีทัศนะว่า สุนัดให้อ่านตัลกีนแก่ ผู้ตาย ซึ่งตามหลักการที่แท้จริงแล้ว เราจะนำคำว่า “สุนัด” อันเป็นหนึ่งจากหกุมทั้ง 5 ของอิสลาม มาปรับใช้ไม่ได้เลย กับการอ่านตัลกีนซึ่งหลักฐานของมันเป็นหะดีษเฎาะอิฟ หรือหะดีษอ่อนมาก แถมนักวิชาการบางท่านยังถือว่า เป็น หะดีษเก๊ ดั่งที่ได้อธิบายผ่านพ้นมาแล้วในหน้า 67 ...
ส่วนในด้านทัศนะของนักวิชาการหะดีษอื่น ๆ นั้น ท่าน อาบาดีย์ ได้กล่าวไว้ว่า -..
وَالتَّلْقِيْنُ بَعْدَاْلَمَوْتِ قَدْجَزَمَ كَثِيْرٌأَنَّهُ حادِثٌ
“และการอ่านตัลกีนหลังจากการตายแล้วนั้น นักวิชาการ (หะดีษ) เป็นจำนวนมากที่เซึ่อมั่นว่า เป็นเรื่องบิดอฺะฮ์”
(ดู เอานุ้ล มะบูด เล่มที่ 8 หน้าที่ 386)
และท่านศ็อนอานีย์ก็ได้กล่าวไว้เช่นกันว่า
وَيَتَحَصَّلُ مِنْ كَلَا مِ أَ ءِمَّةِالتَّحْقِيْقِ أَنَّهُ حدِيْثٌ ضَعِيْفٌ، وَالعمَلُ بِهِ بِدْعةٌ، وَلاَيُغْتَرُّبِكَثْرَةِ مَنْ يفْعَلُهُ
“และ เมื่อได้กลั่นกรองจากคำพูดองนักวิชาการชั้นนำผู้เชียวชาญจริงๆ แล้วก็สรุปได้ว่าหะดิษเรืองตัลกีนนั้นเป็นหะดิษฏออีฟ, และการปฏิบัติตามนี้ เป็นบิดอะห์, ดั่งนั้นจงอย่าไปหลงคล้อยตามกับเพียงการเห็นว่า มีผุ้กระทำอยู่มาก” (ดู สุบุลุส สลามเล่มที่ 2 หน้าที่ 114)
“และการอ่านตัลกีนหลังจากการตายแล้วนั้น นักวิชาการ (หะดีษ) เป็นจำนวนมากที่เซึ่อมั่นว่า เป็นเรื่องบิดอฺะฮ์”
(ดู เอานุ้ล มะบูด เล่มที่ 8 หน้าที่ 386)
และท่านศ็อนอานีย์ก็ได้กล่าวไว้เช่นกันว่า
وَيَتَحَصَّلُ مِنْ كَلَا مِ أَ ءِمَّةِالتَّحْقِيْقِ أَنَّهُ حدِيْثٌ ضَعِيْفٌ، وَالعمَلُ بِهِ بِدْعةٌ، وَلاَيُغْتَرُّبِكَثْرَةِ مَنْ يفْعَلُهُ
“และ เมื่อได้กลั่นกรองจากคำพูดองนักวิชาการชั้นนำผู้เชียวชาญจริงๆ แล้วก็สรุปได้ว่าหะดิษเรืองตัลกีนนั้นเป็นหะดิษฏออีฟ, และการปฏิบัติตามนี้ เป็นบิดอะห์, ดั่งนั้นจงอย่าไปหลงคล้อยตามกับเพียงการเห็นว่า มีผุ้กระทำอยู่มาก” (ดู สุบุลุส สลามเล่มที่ 2 หน้าที่ 114)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น