อีดิลอัฎหาฮ์มุสลิมทั่วโลกแยกกันไม่ได้กับการวูกุฟที่อารอฟะฮุของประเทศ ซาอุดิอาระเปีย วุกุฟวันที่ 9 ที่ทุ่งอารอฟะฮ์รุ่งเช้าวันที่ 10 ด้องลิด วูกุฟอารอฟะฮ์ มุสลิมทั่งโลกจะด้องถือศีลอด 1 วัน รุ่งเช้าจึงออกศีดอฎหาฮ์
โดย อ. ปราโมทย์ ศรีอุทัย
โดย อ. ปราโมทย์ ศรีอุทัย
สัตว์” .. นักวิชาการอธิบายว่า หมายถึงปศุสัตว์ทรือสัตว์สี่เท้าที่ให้เชือดเพื่อเสียดัม (สำหรับผู้ทำนัจพู) หรือเพื่อทำกุรฺบาน (สำหรับผู้ไม่ได้ไปทำนัจฌู)ในวันอัฎหาอ์ ... (สรุปจากตัฟซีรุ “ฟัตหุ้ลกอดีรุ’, ของท่านธัช-เชากานีย์ เล่มที่ 3 หท้า 642)...
สรุปแล้วการทำนัจญ-ตามรูปแบบของท่านนบีย์อิบรอฮีมอะลัยฮิสสลาม-จึง เป็นสิ่งที่มีมาตั้งแต่อดีตกาลแล้ว, และวันอัฎหาอ์ (วันเชือดสัตว์พลี, ซึ่งตรงกับวันที่ 10 ชุลหิจญะฮ์) ก็เป็นวันหนึ่งในพิธีกรรมหัจญ์ด้งกล่าว มาตั้งแต่อดีดเซ่นเดียวกัน ...
ส่วนรูปแบบในพิธีกรรมหัจญ์บางอย่างของท่านนบีย์อิบรอฮีม ก็อาจจะถูก บิดเบือนไปท้างโดยพวกญาฮึลียะฮ์ในยุคหลัง .-.
ตัวอย่างเช่น ..-
1. การเดินทางออกจากมุชดะลิฟะฮ์ของพวกญาเลียะฮ์ จะกระทำกันหลังจาก ควงอาทิตย์ขึ้นสูงเหนือยอดเขาษะบีรุแล้ว (จากอบุคาวูด หะคีษที่ 1938),...
2. จะไมมีการชะอฺยุ(สะแอ)ระหว่างเนินซอฟาและเนินมัรุวะฮ์(บุคอรีย์ หะดีษที่ 1643, 1648, มุสลิม หะดีษที่ 260/1277),...
3. การเปลือยกายเดินฎอว้าฟบัยตุลลอฮ็ได้(บุคอรีย์ หะดีษที่ 1665)เป็นด้น...
แต่ทว่า, ส่วนใหญ่จาก “รูปแบบ,, และ “วิธีการ” ทำนัจณูของท่านนบีย์อิบรอ
ฮึมอะลัยฮิสสลาม-รวมทั้งวันอัฎหาอ์ด้วย - ก็ยังคงได้รับการอนุรักษ์ต่อๆมา และถือ เป็น “ต้นแบบ” การทำนัจญ,ของท่านศาสดามุนัมมัด ศ็อลลัลลอยุ อะลัยฮึวะชัลลัมมา จนถึงปัจจุบัน .. ดังการรับรองของท่านศาสดามุหัมมัด ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะชัลลัมเอง ไนหะคีษบทหนึ่งซึ่งรายงานโดยท่านยะซีด บินชัยบาน อัล-อัชคีย์ ร.ฎ. ว่า -..
كُنَّا وُقُوْفًا بِعَرَفَةَ مكاَ نًا بَعِيْدًا مِنَ المَوْقِفِ، فَأَتاَنَآ بْنُ مِرْبَعٍ الأَنْصَارِىُّ فَقَالَ ؛ إِنِّىْ رَسُوْلُ رَسُوْلِ اللهِ صَلَّى اللهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ إِلَيْكُمْ، يَقُوْلُ ؛ كُوْ نُوْا مَشَا عِرَكُمْ! (وَفِىْ عِبَارَةِ أَبِىْ دَاوُدَ ؛ قِفُوْا عَلَى مَشَا عِرِ كُمْ) فَإِنَّكُمْ عَلَ إِرْثٍ مِنْ إِر ثِ أَبِيْكُمْ إِبْرَ اهِيمَ عَلَيْهِ السَّلاَمُ
“พวกเราได้วุกุฟที่อะรอฟะฮ์กันในสถานที่หนึ่งซึ่งห่างไกลจากเมากิฟ(เขตของทุ่งอารอ ทุ่งอะรอฟะฮ์), ท่านอิบนุบิรุบาอฺ อัล-อันศอรีย์ ร.ฎ. ได้มาหาพวกเราแล้วกล่าวว่า.. “ฉัน เป็นทูตของท่าน รอซุล (ซล) มายังพวกท่าน, ท่านได้สั่งมา
ว่า “ พวกท่านจงอยู่ในเขตที่ถูกกำหนดไว้(مَشَاعِرُ ) ของพวกท่าน ! (คือ เขตของอะ
รอฟะธ์, -. ในสำนวนของท่านอบูลาวูดกล่าวว่า พวกท่านจงวูกุฟใน (مَشَاعِرُ ) ของพวก ท่าน).. เนื่องจากพวกท่านกำลังสืบทอด “มรดกหนึ่ง” มาจากบิดาของพวกท่าน คือ ท่านนบีย์อิบรอฮึม อะลัยฮิสสลาม”
(บันทึกโดย ท่านอัน-นะชาอีย์ หะดีษที่ 3014, ท่านอนูดาวูด หะดีษที่ 1919, ท่านอัต-ติรุมีชีย์ หะคีษที่883, และท่านอิบนุมาญะธ์ หะคีษที่3011, สำนวนข้างต้นนี้ เป็นสำนวนจากการบันทึกของห่านอัน-นะซาอีย์)..-
คำว่า (مَشَاعِرُ) หรือ “เขตที่ถูกกำหนดไว้”ในหะคีษนี หมายถึงเขตของทุ่งอะ รอฟะธ์ที่ถูกกำหนดไว้ตังแต่สมัยท่านนบีย์อิบรอฮีม อะลัยฮิสสลาม .-.
และดำว่า “มรดกหนึ่งของท่านนบีย์อิบรอฮีม” หมายถึง “พิธีกรรมหิจญ์” ของ ท่านนบีย์อิบรอฮีม อะลัยฮิสสลาม ซึ่งท่านไต้เคยกำหนดกรอบและวิธีการของมันมา ตั้งแต่อดีต อาทิเช่น การฎอว้าฟบัยต้ลลอฮ์, การวูถูฟที่ทุ่งอะรอฟะฮ์, การค้างคืนที่มุช ตะลิฟ่ะฮ์, การกำหนดวันที่ 10-11-12-13 เดือนซุลหิจญะฮ์เป็นวันอัฎหาอ์และวันตัชรีก เพื่อเชือดสัคว์พลี เป็นต้น ..-
เมื่อ“วันอัฎหาอ์”เป็นบัญญัติเดิมและเป็นชื่อเรียกตั้งเดิมของวันที่ 10ซุลหิจญะธ์ ในการทำหัจญ์ และเกี่ยวข้องกับการทำหัจญัมาตั้งแต่ยุคสมัยห่านนบีย์อิบรอฮีมแค้ว ..-
ดำนี้จึงเป็นที่มาของดำว่า “การนมาซอีดิ้ออัฎหาอ์” ของท่านรอชู้ลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะซัลลัม .- แม้ว่าขณะนั้นห้จญัของอิสลามจะยังไม่ถูกพิรฺถูลงมาก็ ตาม -..
และ.. หลังจากพิรฏูหัจญัของอิสลามถูกประทานลงมาให้แก่ท่านนบีย์มุหัมมัด ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะชัลลัมแล้ว ความสัมพันธ์ระหว่าง “วันอัฎหาอ์” กับ “การทำ หัจญ์” ก็ยิ่งแน่นแฟ้นขึ้น ชนิดแยกจากกันไม่ไค้อีก .. ดั่งเป็นที่ทราบกันดีและไม่มีความ
ขัดแยงใดๆของนักวิชาการในเรื่องนี้...
เพราะฉะนั้น หากผู้ใดกล่าวว่า การนมาชวันเดิ้ลอัฎหาอไเม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับ
การทำหัจญ์เลย,และแต่ละประเทศในปัจจุบันนี้มีสืทธิจะกำหนดวันที่ 10 ซุลหิจญะห์ เพื่อเป็นวันนมาซอีดิ้ลอัฎหาอ์ภายในประเทศของตนนองไต้เหมือนบรรดามุสลิมในอดีต โดยไม่มีข้อแม้ใดๆ ผู้นั้นก็จะต้องหาข้อมูลหรือหลักฐานมาเพื่อพิสูจน์ให้ไต้ว่า.-.
สรุปแล้วการทำนัจญ-ตามรูปแบบของท่านนบีย์อิบรอฮีมอะลัยฮิสสลาม-จึง เป็นสิ่งที่มีมาตั้งแต่อดีตกาลแล้ว, และวันอัฎหาอ์ (วันเชือดสัตว์พลี, ซึ่งตรงกับวันที่ 10 ชุลหิจญะฮ์) ก็เป็นวันหนึ่งในพิธีกรรมหัจญ์ด้งกล่าว มาตั้งแต่อดีดเซ่นเดียวกัน ...
ส่วนรูปแบบในพิธีกรรมหัจญ์บางอย่างของท่านนบีย์อิบรอฮีม ก็อาจจะถูก บิดเบือนไปท้างโดยพวกญาฮึลียะฮ์ในยุคหลัง .-.
ตัวอย่างเช่น ..-
1. การเดินทางออกจากมุชดะลิฟะฮ์ของพวกญาเลียะฮ์ จะกระทำกันหลังจาก ควงอาทิตย์ขึ้นสูงเหนือยอดเขาษะบีรุแล้ว (จากอบุคาวูด หะคีษที่ 1938),...
2. จะไมมีการชะอฺยุ(สะแอ)ระหว่างเนินซอฟาและเนินมัรุวะฮ์(บุคอรีย์ หะดีษที่ 1643, 1648, มุสลิม หะดีษที่ 260/1277),...
3. การเปลือยกายเดินฎอว้าฟบัยตุลลอฮ็ได้(บุคอรีย์ หะดีษที่ 1665)เป็นด้น...
แต่ทว่า, ส่วนใหญ่จาก “รูปแบบ,, และ “วิธีการ” ทำนัจณูของท่านนบีย์อิบรอ
ฮึมอะลัยฮิสสลาม-รวมทั้งวันอัฎหาอ์ด้วย - ก็ยังคงได้รับการอนุรักษ์ต่อๆมา และถือ เป็น “ต้นแบบ” การทำนัจญ,ของท่านศาสดามุนัมมัด ศ็อลลัลลอยุ อะลัยฮึวะชัลลัมมา จนถึงปัจจุบัน .. ดังการรับรองของท่านศาสดามุหัมมัด ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะชัลลัมเอง ไนหะคีษบทหนึ่งซึ่งรายงานโดยท่านยะซีด บินชัยบาน อัล-อัชคีย์ ร.ฎ. ว่า -..
كُنَّا وُقُوْفًا بِعَرَفَةَ مكاَ نًا بَعِيْدًا مِنَ المَوْقِفِ، فَأَتاَنَآ بْنُ مِرْبَعٍ الأَنْصَارِىُّ فَقَالَ ؛ إِنِّىْ رَسُوْلُ رَسُوْلِ اللهِ صَلَّى اللهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ إِلَيْكُمْ، يَقُوْلُ ؛ كُوْ نُوْا مَشَا عِرَكُمْ! (وَفِىْ عِبَارَةِ أَبِىْ دَاوُدَ ؛ قِفُوْا عَلَى مَشَا عِرِ كُمْ) فَإِنَّكُمْ عَلَ إِرْثٍ مِنْ إِر ثِ أَبِيْكُمْ إِبْرَ اهِيمَ عَلَيْهِ السَّلاَمُ
“พวกเราได้วุกุฟที่อะรอฟะฮ์กันในสถานที่หนึ่งซึ่งห่างไกลจากเมากิฟ(เขตของทุ่งอารอ ทุ่งอะรอฟะฮ์), ท่านอิบนุบิรุบาอฺ อัล-อันศอรีย์ ร.ฎ. ได้มาหาพวกเราแล้วกล่าวว่า.. “ฉัน เป็นทูตของท่าน รอซุล (ซล) มายังพวกท่าน, ท่านได้สั่งมา
ว่า “ พวกท่านจงอยู่ในเขตที่ถูกกำหนดไว้(مَشَاعِرُ ) ของพวกท่าน ! (คือ เขตของอะ
รอฟะธ์, -. ในสำนวนของท่านอบูลาวูดกล่าวว่า พวกท่านจงวูกุฟใน (مَشَاعِرُ ) ของพวก ท่าน).. เนื่องจากพวกท่านกำลังสืบทอด “มรดกหนึ่ง” มาจากบิดาของพวกท่าน คือ ท่านนบีย์อิบรอฮึม อะลัยฮิสสลาม”
(บันทึกโดย ท่านอัน-นะชาอีย์ หะดีษที่ 3014, ท่านอนูดาวูด หะดีษที่ 1919, ท่านอัต-ติรุมีชีย์ หะคีษที่883, และท่านอิบนุมาญะธ์ หะคีษที่3011, สำนวนข้างต้นนี้ เป็นสำนวนจากการบันทึกของห่านอัน-นะซาอีย์)..-
คำว่า (مَشَاعِرُ) หรือ “เขตที่ถูกกำหนดไว้”ในหะคีษนี หมายถึงเขตของทุ่งอะ รอฟะธ์ที่ถูกกำหนดไว้ตังแต่สมัยท่านนบีย์อิบรอฮีม อะลัยฮิสสลาม .-.
และดำว่า “มรดกหนึ่งของท่านนบีย์อิบรอฮีม” หมายถึง “พิธีกรรมหิจญ์” ของ ท่านนบีย์อิบรอฮีม อะลัยฮิสสลาม ซึ่งท่านไต้เคยกำหนดกรอบและวิธีการของมันมา ตั้งแต่อดีต อาทิเช่น การฎอว้าฟบัยต้ลลอฮ์, การวูถูฟที่ทุ่งอะรอฟะฮ์, การค้างคืนที่มุช ตะลิฟ่ะฮ์, การกำหนดวันที่ 10-11-12-13 เดือนซุลหิจญะฮ์เป็นวันอัฎหาอ์และวันตัชรีก เพื่อเชือดสัคว์พลี เป็นต้น ..-
เมื่อ“วันอัฎหาอ์”เป็นบัญญัติเดิมและเป็นชื่อเรียกตั้งเดิมของวันที่ 10ซุลหิจญะธ์ ในการทำหัจญ์ และเกี่ยวข้องกับการทำหัจญัมาตั้งแต่ยุคสมัยห่านนบีย์อิบรอฮีมแค้ว ..-
ดำนี้จึงเป็นที่มาของดำว่า “การนมาซอีดิ้ออัฎหาอ์” ของท่านรอชู้ลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะซัลลัม .- แม้ว่าขณะนั้นห้จญัของอิสลามจะยังไม่ถูกพิรฺถูลงมาก็ ตาม -..
และ.. หลังจากพิรฏูหัจญัของอิสลามถูกประทานลงมาให้แก่ท่านนบีย์มุหัมมัด ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะชัลลัมแล้ว ความสัมพันธ์ระหว่าง “วันอัฎหาอ์” กับ “การทำ หัจญ์” ก็ยิ่งแน่นแฟ้นขึ้น ชนิดแยกจากกันไม่ไค้อีก .. ดั่งเป็นที่ทราบกันดีและไม่มีความ
ขัดแยงใดๆของนักวิชาการในเรื่องนี้...
เพราะฉะนั้น หากผู้ใดกล่าวว่า การนมาชวันเดิ้ลอัฎหาอไเม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับ
การทำหัจญ์เลย,และแต่ละประเทศในปัจจุบันนี้มีสืทธิจะกำหนดวันที่ 10 ซุลหิจญะห์ เพื่อเป็นวันนมาซอีดิ้ลอัฎหาอ์ภายในประเทศของตนนองไต้เหมือนบรรดามุสลิมในอดีต โดยไม่มีข้อแม้ใดๆ ผู้นั้นก็จะต้องหาข้อมูลหรือหลักฐานมาเพื่อพิสูจน์ให้ไต้ว่า.-.
1. คำว่า “วันอัฎหาอ” เป็น “คำศัพท์ใหม่” ซึ่งท่านนบีย์มูหัมมัด ศีอลลัลลอฮุ อะ ลัยสิวะชัลลัมเพิ่งจะบัญญัติขึ้นมา เพื่อใช้เรียกเป็นชื่อวันนมาชอีดในวันที่ 10 เดือนชุล หิจญะฮ์ตั้งแต่ ปี ฮ.ศ. 1 หรอ 2 เป็นต้นมา, .. และคำๆนี้ก็ไม่เคยเป็นที่รูจักกันในอดีต, หรือ ไม่ได้มีที่มาจากพิธีกรรมหัจญ์ของท่านนบีย์อิบรอฮีม อะลัยฮิสสลาม (แล้วสืบทอคต่อมา จนถึง “หัจณ์อิสลาม” ในยุกของท่านนบย์มุหัมมัด ศ็อลลัลลอสิ อะลัยฮิวะชัลลัม) ? .-.
และคำว่า أَيَامٍ مَعْلُوْ مآتٍ หรือ “บรรดาวันที่เกันอยู่แล้ว” ในโองการที่ 28 ซูเราะฮ์
ะ* ^
อัล-'หัจญั ก็ไม่ได้มีความหมายถึงวันอัฎหาอ์เลย ?...
และคำว่า أَيَامٍ مَعْلُوْ مآتٍ หรือ “บรรดาวันที่เกันอยู่แล้ว” ในโองการที่ 28 ซูเราะฮ์
ะ* ^
อัล-'หัจญั ก็ไม่ได้มีความหมายถึงวันอัฎหาอ์เลย ?...
2. วันอะรอฟะฮ์เและ-วันอัฎหาอ์ ไม่จำเป็นจะต้องต่อเนื่องกัน .. แต่สามารถแยก จากกันได้..
ทั้งนี้ เพราะเหตุการณ์จริงที่เกิดขึ้นในการนมาชวันอีตั้ลอัฎหาอ์เมื่อเดือนธันวาคม ปี พ.ศ. 2550 ที่เพิ่งผ่านไปหยกๆก็คือ มีประชาชนบางคน ถือคืลอดอะรอฟะฮในวัน อังคาร ตามวันวุกุฟที่อะรอฟะฮ์ของผู้ทำหัจณ์ที่มักกะฮ์. ต่อจากนั้นจึง นมาซอดิ้ลอัฦหาอ์ ในวันพฤหัสบดี ตามการกำหนดของสำนักชุฬาราชมนตรี -..
3. บรรดาเศาะหาบะฮ์ซึ่งพำนักอยู่ในเนืองต่างๆที่ “ใกล้“ กับนครมักกะฮ์ในอดีต ไม่เคยสนใจหรือให้ความสำคัญกับวันอะรอฟะฮ์หรือวันอีดิลอัฎหาฮ์ฃองนครมักกะฮ์เลย แม้แต่น้อย .. ทว่า, พวกเขา “จงใจ” คูเดือนเพื่อกำหนดวันที่ 9 และวันที่ 10 1ดือนชุล หิจญะฮ์ให้เป็นวันถือศีลอคอะรอฟะฮ์และวันนมาชอีดิ๋ลอัฎหาอ์ของตนเอง ทั้งๆที่เอยู่ เต็มอกแล้วว่า วันอะรอฟะฮ์และวันอัฎหาอ์ฃองมักกะฮ์ ตรงกับวันไหน ??? ..-
พวกท่านจะต้องหาหลักฐานมาพิสูจน์ทั้ง 3 ประเด็นที่กล่าวมานี้ให้ใด จึงจะอ้าง สิทธิการคูเดือน เพื่อกำหนดวันนมาชอีคิ้ลอัฎหาอ์ภายในประเทศของตนเองได้ -..
แต่ถ้าหาหลักฐานมาพิสูจน์ไม่ได้ พวกท่านก็ต้องยอมรับความจริงว่า ..-
1. วันอัฎหาอ์เคยเกี่ยวข้อง, และจะยังคงเกี่ยวช้องกับพิธีกรรมหัจญ์ต่อไปและ ตลอดไป,..ไม่ว่าอดีด. ปัจจุบัน. อนาคต.. จนถึงวันอาคิเราะฮ์...
ดังนั้น “การนมาซอีด” ในวัน “อัฎหาอ” จึงไม่ใช่การนมาชอีคใน “วัน.ที 10 เดือนชุลหิจญะฮ์” ของแต่ละประเทศโดยเอกเทศ, แต่เป็นนนมาซที่ถูกกำหนดให้ทำใน “วันอัฎหาอ์” (วันที่ 10 เดือนชุลหิจญะฮ์) อันเป็นวัน ซึ่งมีชื่อเรียกโดย..เฉพาะ. :และมี ที่ มา จาก “พิธีกรรมหัจญ์” ของท่านนบีย์อิบรอเมในอดีต แล้วสืบทอดต่อมาจนถึง -หัจญ์ อิสลาม” ดังที่ได้อธิบายผ่านมาแล้ว -..
และเมื่อ “หัจญ์ของอิสลาม” ถูกฟัรฏูลงมาในฮิจเราะฮ์ศักราชที่ 9 หรือที่ 10 “การนมาซวันอีดิ้ลอัฏหาอ์” ก็ผุกพันกับ “การทำหัจญ์” อย่างแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น .. ดังหลักฐานที่กำลังจะอธิบายต่อไปในข้อที่ 2 คือ
2. วันอารอฟ๊ะฮ์ และวัน อัฏหาอ์ ไม่มีวันจะแยกจากกันได้
ท่านนบีมูฮัมหมัด(ซล) ได้เคยกล่าวในหะดิษบทหนี่งว่า..............
يَوْمُ عَرَفَةَ ، وَيَوْمُ ١لنَّحْرِ، وَأَيَّمُ التَشْرِيْقِ عِيْدُنَا أَ هْلَ اْلإِ سلاَمِ، وَهِيَ أَيَّمُ أَكْلِ وَشُرْبٍ
“ วันอารอฟะฮ์ (วันที่9) วันนะหัร( วันที่ 10) , และบรรดาวันตัชรี (วันที่ 11-12-13ฦ)เดือน ซุลหิจญะฮ์) คือวันอีดสำหรับพวกเราชาวมุสลิมโดยเฉพาะ, นั้นคือเป็นวันแห่งการกินและการดื่ม” ‘’ บันทึกโดยท่าน อบูดาวูด หะดิษที่ 2419 และท่านอัตตีรมีซีย์ หะดิษที่ 773 โดยรายงานมาจากท่านอุกบะฮ์ บินอามิร รฏ และหะดิษที่ถูกต้องดังการรับรองของท่าน อัล อัลบานีย์ ในหนังสือ إِرْوَاءُالغَليْلِ ” เล่มที่4หน้า 130, ท่านอัตติรมีซีย์,ในหนังสือ “الْجَا مِعُ الصَّحِيْحُ ” ตอนท้ายของหะคีษที่ 773, ท่านอัล-หากิมในหนังสือ “الْمُسْتَدْرَكُ” เล่มที่ 1 หน้า 600, และท่านอัษ-ษะฮะบีย์ในหนังสือ “ا تَلْخِصُ لْمُسْتَدْركُ”ซึ่งถูกตีพิมพ์ร่วมกับหนังสือ اَلْمُسْتَدْركُของท่านอัล-หากิม1ข้างค้น) 1..
นัยของหะดีษบทนี้บ่งบอกว่า วันทั้งหมดที่ท่านศาสดา ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะซัลลัมระบุมานั้นไม่ว่าจะเป็นวันอะรอฟะฮ์, วันอัฎหาอ์, และวันตัชรีกทั้งสาม- เป็น “วันอึด” .. คือวันดื่มกินของมุสลิม, มีความต่อเนื่องกันและเรียงกันเป็นถูกโซ่, ซึ่ง ไม่สามารถจะแยกจากกันได้
การที่ท่านศาสดา สั่งไห้ “ถือศีลอดในวันอะรอฟะฮ์” จึงมีความหมายเท่ากับท่าน
สั่งให้ “นมาชอึด'' ในวันรุ่งขึ้น -.ซึ่งจะเป็น“วันอัฎหาอ์”โดยอัตโนมัติ ...
เพราะฉะนั้น การถือศีลอดอะรอฟะฮ์ในวันอังคารแล้วเว้นวรรคไปนมาชอีดิ๋ลอัฎ หาอ์ในวันพฤหัสบดี จึงไม่มีในหลักการของชุนนะฮ -..
หมายเหตุ หะดิบบทข้างต้นนี้ ตามรูปการณ์แล้วท่านศาสดาน่าจะกล่าว ก่อน ฟัรฺฎหัจญ์ของอิสลามถูกประทานลงมา, เพราะหลังจากมีฟันฎูหัจญ์อิสลามแล้ว วันอะรอฟ่ะฮ์ ก็ถูกกำหนดให้เป็นวันถือศิลอดไม่ใชํวันดื่มกินอีกต่อไปสำหรับผู้ที่มิได้ไปทำพิธีหัจญ์ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว..
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น