อีดิลอัฎหาฮ์มุสลิมทั่วโลกแยกกันไม่ได้กับการวูกุฟที่อารอฟะฮุของประเทศ ซาอุดิอาระเปีย วุกุฟวันที่ 9 ที่ทุ่งอารอฟะฮ์รุ่งเช้าวันที่ 10 ด้องลิด วูกุฟอารอฟะฮ์ มุสลิมทั่งโลกจะด้องถือศีลอด 1 วัน รุ่งเช้าจึงออกศีดอฎหาฮ์
...................................................................................................................................
โดย อาจารย์ปราโมทย์ ศรีอุทัย
หลังจากที่ผมเขียนหนังสือเล่มนี้จบลงไม่นาน ก็มีมิตรสหายบางท่านโทรศัพท์มา
เล่าให้ฟังว่า ได้อ่านเจอเว็บไซด์หนึ่ง ซึ่งเนื้อหาก็คือ การนมาชวันอีดิ้ลอัฎหาอ์ใน ประเทศไทยไม่จำเป็นจะต้องพร้อมกับวันอัฎหาท์ของประเทศซาอุดีอาระเบียก็ได้ เพราะ การนมาชวันอีด ถูกบัญณัติมาก่อนการทำหัจญ์ 8 - 9 ปี
แสดงว่าการนมาชอีดิ้ลอัฎหาอ์ไม่มีส่วนสัมพันธ์หรือเกี่ยวข้องกับการทำหัจณูและการวู กูฟทีทุ่งอะรอฟะฮ์...
ด้วยเหตุนี้ มุสลิมในเมืองต่าง ๆ สมัยนั้น,จึงสามารถกำหนดวันอีดิลอัฎหาอ์กันเองได้..... นอกจากนั้น ท่านนบีย์และบรรดาเศาะหาบะฮ์ซึ่งพำนักอยู่ที่นครมะดีนะฮ์ต่างก็กำหนด วันที่ 10 เดือนชุลหิจญะเป็นวันนมาซอีดิ้ลกัฎหาอ่ที่มะดีนะฮ์ โดยไม่เคยสนใจสอบถามว่า ที่มักกะฮ์มีการกำหนดวันอะรอฟะฮ์วันไหน หรือนมาซอีดกันวันไหน?...
ฯลฯ ...........
เล่าให้ฟังว่า ได้อ่านเจอเว็บไซด์หนึ่ง ซึ่งเนื้อหาก็คือ การนมาชวันอีดิ้ลอัฎหาอ์ใน ประเทศไทยไม่จำเป็นจะต้องพร้อมกับวันอัฎหาท์ของประเทศซาอุดีอาระเบียก็ได้ เพราะ การนมาชวันอีด ถูกบัญณัติมาก่อนการทำหัจญ์ 8 - 9 ปี
แสดงว่าการนมาชอีดิ้ลอัฎหาอ์ไม่มีส่วนสัมพันธ์หรือเกี่ยวข้องกับการทำหัจณูและการวู กูฟทีทุ่งอะรอฟะฮ์...
ด้วยเหตุนี้ มุสลิมในเมืองต่าง ๆ สมัยนั้น,จึงสามารถกำหนดวันอีดิลอัฎหาอ์กันเองได้..... นอกจากนั้น ท่านนบีย์และบรรดาเศาะหาบะฮ์ซึ่งพำนักอยู่ที่นครมะดีนะฮ์ต่างก็กำหนด วันที่ 10 เดือนชุลหิจญะเป็นวันนมาซอีดิ้ลกัฎหาอ่ที่มะดีนะฮ์ โดยไม่เคยสนใจสอบถามว่า ที่มักกะฮ์มีการกำหนดวันอะรอฟะฮ์วันไหน หรือนมาซอีดกันวันไหน?...
ฯลฯ ...........
ชี้แจง
ถาการนมาซอีดี้ลอัฎหาอ์ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทำหัจญ์เลย ท่านนบีย์ก็คงจะไม่กล่าว ว่า “การนมาซอีดวันอัฎหาอ์”...
เพราะชื่อ “วันอัฎหาอ์” มิได้หมายถึงวันที่ 10 เดือนชุลหิจญะธ์โดยทั่ว ๆ ไป, แต่เป็น “ชื่อ” เรียกวันที่ 10 เดือนชุลหิจญะฮ์ซึ่งมีที่มาจากการทำหัจณ์ คือ เป็นชื่อวันเชือดสัตว์พลี (กัล- ฮัคยุ, หรือดัม) ในพิธีกรรมหัจญ ดังจะได้กล่าวต่อไป ....
ก่อนอื่น ผมขอเรียนชี้แจงเพื่อทำความเข้าใจกับปัญหาขางด้นดังต่อไปนี้ คำกล่าวที่ว่า“การนมาชอีดิ้ลกัฎหาอ์ ถูกบัญณัติมาก่อนการทำหัจญ์8หรือ 9ปี”
หากคำว่า “หัจญ์” ในที่นี้ หมายถึง “หิจญะดุ้ลอิฮฮาม” คือหัจญ์ซึ่งหระองท์กัลลอธ์ ช.บ. ได้ลงฟัรฎูให้แก่ท่านนบีย์ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะชัลลัมไนปีที่9 หรือปีที่ 10 ของเดือนฮิจเราะ ราชศักราชคำกล่าวนี้ก็เป็นคำกล่าวที่ถูกด้อง,....
หมายความว่า...ในช่วง 8 หรือ 9ปี แรกก่อนที่จะมีการพัรฏูหัจญ์ลงมา มุสลิมจะมีการ นมาซอีดกันเพียงอย่างเดียว ด้วยการกำหนดเอาวันที่ 10 เดือนชุลหิจญะฮ์ของเมืองประเทศ ตนเองเป็น “วันอัฎหาอ์” เพื่อการนมาซอีดโดยอิสระ,...
ถาการนมาซอีดี้ลอัฎหาอ์ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทำหัจญ์เลย ท่านนบีย์ก็คงจะไม่กล่าว ว่า “การนมาซอีดวันอัฎหาอ์”...
เพราะชื่อ “วันอัฎหาอ์” มิได้หมายถึงวันที่ 10 เดือนชุลหิจญะธ์โดยทั่ว ๆ ไป, แต่เป็น “ชื่อ” เรียกวันที่ 10 เดือนชุลหิจญะฮ์ซึ่งมีที่มาจากการทำหัจณ์ คือ เป็นชื่อวันเชือดสัตว์พลี (กัล- ฮัคยุ, หรือดัม) ในพิธีกรรมหัจญ ดังจะได้กล่าวต่อไป ....
ก่อนอื่น ผมขอเรียนชี้แจงเพื่อทำความเข้าใจกับปัญหาขางด้นดังต่อไปนี้ คำกล่าวที่ว่า“การนมาชอีดิ้ลกัฎหาอ์ ถูกบัญณัติมาก่อนการทำหัจญ์8หรือ 9ปี”
หากคำว่า “หัจญ์” ในที่นี้ หมายถึง “หิจญะดุ้ลอิฮฮาม” คือหัจญ์ซึ่งหระองท์กัลลอธ์ ช.บ. ได้ลงฟัรฎูให้แก่ท่านนบีย์ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะชัลลัมไนปีที่9 หรือปีที่ 10 ของเดือนฮิจเราะ ราชศักราชคำกล่าวนี้ก็เป็นคำกล่าวที่ถูกด้อง,....
หมายความว่า...ในช่วง 8 หรือ 9ปี แรกก่อนที่จะมีการพัรฏูหัจญ์ลงมา มุสลิมจะมีการ นมาซอีดกันเพียงอย่างเดียว ด้วยการกำหนดเอาวันที่ 10 เดือนชุลหิจญะฮ์ของเมืองประเทศ ตนเองเป็น “วันอัฎหาอ์” เพื่อการนมาซอีดโดยอิสระ,...
และระยะเวลาระหว่างนัน ไม่มีการทำหัจญ์ตามรูปแบบหจญ์ของอิสลาม, และ (คงจะ)ไม่มีการถือศีลในวันอะรอฟะย์ด้วย .-.
แต่ .. ข้อมูลเพียงเท่านี้ ก็หาใช่หลักฐานเพียงพอที่จะตัดสินว่า การนมาชวันอิดิ้ลอัฎหาอ์ ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทำหัจญ์เลย .-.
เพราะตามข้อเท็จจริงนั้น “วันอัฎหา” มีส่วนส้มพันธกับ “การทำหัจญ์” มาตั้งงแต่ สมัยโบราณ .. คือตังแต่สมัยท่านนบีย์อิบรอเม อะลัยฮิสสลามแล้ว ...
หลักฐานในเรื่องนีก็คือ การที่พระองค์อัลลอฮ์ ช.บ. ได้ทรงมีบัญชาต่อท่านนบีย์ อิบรอฮีม อะลัขอิสสลาม ให้ประกาศเชิญชวนประชาชนให้มาทำหัจญ์ที่นครมักกะย์ ตังที่มีระบุในโองการที่ 27-28 ชุเราะฮ์อัล-หัจญ์ ว่า ...
وَأَذِّن فِي النَّاسِ بِالْحَجِّ يَأْتُوكَ رِجَالًا وَعَلَىٰ كُلِّ ضَامِرٍ يَأْتِينَ مِن كُلِّ فَجٍّ عَمِيقٍ ( 27 )
แต่ .. ข้อมูลเพียงเท่านี้ ก็หาใช่หลักฐานเพียงพอที่จะตัดสินว่า การนมาชวันอิดิ้ลอัฎหาอ์ ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทำหัจญ์เลย .-.
เพราะตามข้อเท็จจริงนั้น “วันอัฎหา” มีส่วนส้มพันธกับ “การทำหัจญ์” มาตั้งงแต่ สมัยโบราณ .. คือตังแต่สมัยท่านนบีย์อิบรอเม อะลัยฮิสสลามแล้ว ...
หลักฐานในเรื่องนีก็คือ การที่พระองค์อัลลอฮ์ ช.บ. ได้ทรงมีบัญชาต่อท่านนบีย์ อิบรอฮีม อะลัขอิสสลาม ให้ประกาศเชิญชวนประชาชนให้มาทำหัจญ์ที่นครมักกะย์ ตังที่มีระบุในโองการที่ 27-28 ชุเราะฮ์อัล-หัจญ์ ว่า ...
وَأَذِّن فِي النَّاسِ بِالْحَجِّ يَأْتُوكَ رِجَالًا وَعَلَىٰ كُلِّ ضَامِرٍ يَأْتِينَ مِن كُلِّ فَجٍّ عَمِيقٍ ( 27 )
لِّيَشْهَدُوا مَنَافِعَ لَهُمْ وَيَذْكُرُوا اسْمَ اللَّهِ فِي أَيَّامٍ مَّعْلُومَاتٍ عَلَىٰ مَا رَزَقَهُم مِّن بَهِيمَةِ الْأَنْعَامِ فَكُلُوا مِنْهَا وَأَطْعِمُوا الْبَائِسَ الْفَقِيرَ ( 28
“และจงประกาศแก่มวลมนุษย์เพื่อการทำหัจญ์ พวกเขาจะมายังเข้าด้วยการเดิน เท้าและบน (หลัง) ลูฐเพรียวทุกตัว, พวกเขาจะมาจากทางไกลทุกทิศทาง เพื่อจะได้ มาร่วมเป็นพยานในผลประโยชน์ของพวกเขา และกล่าวพระนามอัลลอย์ในบรรดาวันที่รู้ กันอยู่แล้ว ตามที่พระองค์ได้ทรงประทานปีจจัยยังชีพแก่พวกเขาอันได้แก่ปศุสัตว์(สัตว์
สี่เท้าเพื่อเชือดเป็นสัตว์พลี) ”
คำว่า “กล่าวพระนามอัลลอฮ์” ในโองการนนักวิชาการอธิบายว่า.- หมายถึง
การกล่าวพระนามอัลเลาะดอนเชือดสัตว์พลีในวันอัฦหาอ์...
คำว่า “บรรดาวันที่รู้กันอยู่แล้ว” นักวิชาการต่างเห็นพ้องกันว่า หมายถึง “วันอัฦ
หาอ์”อันเป็นวันเชือดสัตว์พลีชึ๋งตรงกับวันที่ 10เดือนชุลหิจญะ..
แต่ยังมีความขัคแยงกันเล็กน้อยในประเด็นที่ว่า “บรรดาวันทิ่รู้กันอยู่แล้ว” จะ หมายถึงวันอื่นๆด้วยหรือไม่ ? ... นักวิชาการบางท่านอธิบายว่า วันอัฏหาอ์ คือวันที่ 10 เดือนซุลหิจญะห์ และวันตัชรีกทั้ง3 คือวันที่ 11-12-13 เดือนซุลหิจญะห์ด้วย..
สี่เท้าเพื่อเชือดเป็นสัตว์พลี) ”
คำว่า “กล่าวพระนามอัลลอฮ์” ในโองการนนักวิชาการอธิบายว่า.- หมายถึง
การกล่าวพระนามอัลเลาะดอนเชือดสัตว์พลีในวันอัฦหาอ์...
คำว่า “บรรดาวันที่รู้กันอยู่แล้ว” นักวิชาการต่างเห็นพ้องกันว่า หมายถึง “วันอัฦ
หาอ์”อันเป็นวันเชือดสัตว์พลีชึ๋งตรงกับวันที่ 10เดือนชุลหิจญะ..
แต่ยังมีความขัคแยงกันเล็กน้อยในประเด็นที่ว่า “บรรดาวันทิ่รู้กันอยู่แล้ว” จะ หมายถึงวันอื่นๆด้วยหรือไม่ ? ... นักวิชาการบางท่านอธิบายว่า วันอัฏหาอ์ คือวันที่ 10 เดือนซุลหิจญะห์ และวันตัชรีกทั้ง3 คือวันที่ 11-12-13 เดือนซุลหิจญะห์ด้วย..
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น