โดยอ. ปราโมทย์ ศรีอุทัย
6. ในหน้า 164 มีข้อความว่า ...“สายรายงานของ หะดีษบทนี้ มีผู้รายงานท่านหนึ่งซื่อ “อาเศ็ม บิน อับดุลลอฮ์” ชื่งอิบนุคุชัยมะฮ์กล่าวว่า อาเศ็มนี้มีความจดจำไม่ค่อยดี แต่ ท่านอะญาลีย์กล่าวว่า อาเศ็มผู้นี้ หะดีษที่ท่านรายงานนั้น เซื่อถือได้” (ดูมีซาน้ลเอี๊ยะติดาล) แต่งโดยซะฮ์บิย์ เล่มที่ 2 หน้า 354 ...
ขอชี้แจงว่า อฺาเศ็ม (ท่านผู้เขียนเรียกว่า อาเศ็ม) ที่ ท่านอิบนุคุชัยมะฮ์และท่านอะญาลีย์ได้กล่าววิจารณ์ และ ท่านซะฮะบิย์ได้บันทึกลงไว้ใน “มีชาน้ลเอียะติดาล เล่มที่ 2 หน้า 353 - 354 นั้น คือท่าน “อุาศิม บิน อุบัยดิลลาฮ์ บิน อุาศิม บินอุมัรฺ อิบนุลค็อฎฎอบ ร.ฎ.” เป็นคนละคนกับ “อาศิม บิน อับตุลลอฮ์” ที่เป็นผู้หนึ่งในสายรายงานหะดีษ ตัลก็นของท่านอัฏ ฎ็อบรอนีย์ และอุาค็ม บิน อับดุลลอฮ์ผู้นี้
ไม่เคยมีการบันทึกประวัติไว้ในตำรา “ริญาลุล หะดีษ” เล่มใด จึงถือว่า “เป็นมัจญฮูล” คือ ไม่เป็นที่รู้จัก 1..
ขอชี้แจงว่า อฺาเศ็ม (ท่านผู้เขียนเรียกว่า อาเศ็ม) ที่ ท่านอิบนุคุชัยมะฮ์และท่านอะญาลีย์ได้กล่าววิจารณ์ และ ท่านซะฮะบิย์ได้บันทึกลงไว้ใน “มีชาน้ลเอียะติดาล เล่มที่ 2 หน้า 353 - 354 นั้น คือท่าน “อุาศิม บิน อุบัยดิลลาฮ์ บิน อุาศิม บินอุมัรฺ อิบนุลค็อฎฎอบ ร.ฎ.” เป็นคนละคนกับ “อาศิม บิน อับตุลลอฮ์” ที่เป็นผู้หนึ่งในสายรายงานหะดีษ ตัลก็นของท่านอัฏ ฎ็อบรอนีย์ และอุาค็ม บิน อับดุลลอฮ์ผู้นี้
ไม่เคยมีการบันทึกประวัติไว้ในตำรา “ริญาลุล หะดีษ” เล่มใด จึงถือว่า “เป็นมัจญฮูล” คือ ไม่เป็นที่รู้จัก 1..
7. มีกล่าวในหน้า 165 ว่า “ณ ที่นี้ แสดงให้เห็นว่า ที่ว่า “ฎออีฟ” นั้น หาใช่ตัวบทหะดีษ หากแต่เป็นอาเค็ม ผู้รายงานหะดีษ”...และในหน้า 169 ก็มีข้อความ'ว่า ...“เพราะ หะดีษฎออีฟนั้น โดยความเป็นจริงแล้วก็เป็นหะดีษที่มาจาก ท่านนะบี แด,ผู้รายงานเป็นผู้ที่ขาดคุณศมบีดีตังได้กล่าวแล้ว” -..
คำพูดตังกล่าวของท่านผู้เขียนหนังสือ “มัสอะละฮ์ อูกามา” ตอนนี้ เป็นคำพูดที่แปลกมาก และเป็นตำพูดที่ ปฏิเสธต่อหลักการของวิชาหะดีษโดยสิ้นเชิง, เพราะสิ่งที่ นักวิชาการหะดีษทุกท่านได้ยอมรับกันเป็นเอกฉันท์ก็คือ “หากหะดีษบทใดเป็นหะดีษที่มาจากท่านนะบีอย่างแท้จริง แล้ว หะดีษบทนั้นถือว่าเป็นหะดีษ “เศาะเหี้ยะห์” หรือ ถูกต้อง, หรืออย่างน้อย ๆ ที่สุดก็ถือว่าเป็นหะดีษ “หะสัน” คือหะดีษที่สวยงาม ซึ่งหะดีษทั้งสองลักษณะที่กล่าวมานี้ ย่อมจะนำมาอ้างเป็นหลักฐานของศาสนาได้ในทันที ไม่ว่า จะเป็นเรื่องหุกุมหรือเรื่องอึ่น ๆ ...
คำพูดตังกล่าวของท่านผู้เขียนหนังสือ “มัสอะละฮ์ อูกามา” ตอนนี้ เป็นคำพูดที่แปลกมาก และเป็นตำพูดที่ ปฏิเสธต่อหลักการของวิชาหะดีษโดยสิ้นเชิง, เพราะสิ่งที่ นักวิชาการหะดีษทุกท่านได้ยอมรับกันเป็นเอกฉันท์ก็คือ “หากหะดีษบทใดเป็นหะดีษที่มาจากท่านนะบีอย่างแท้จริง แล้ว หะดีษบทนั้นถือว่าเป็นหะดีษ “เศาะเหี้ยะห์” หรือ ถูกต้อง, หรืออย่างน้อย ๆ ที่สุดก็ถือว่าเป็นหะดีษ “หะสัน” คือหะดีษที่สวยงาม ซึ่งหะดีษทั้งสองลักษณะที่กล่าวมานี้ ย่อมจะนำมาอ้างเป็นหลักฐานของศาสนาได้ในทันที ไม่ว่า จะเป็นเรื่องหุกุมหรือเรื่องอึ่น ๆ ...
ส่วนหะดีษฎออีฟ เป็นหะดีษที่ให้ความมั่นใจน้อยมาก ว่าจะเป็นคำพูดของท่านนะบีอย่างแท้จริง เพราะการขาด คุณสมบัตของผู้รายงานตามหลักวิชาการ อาทึเช่น ผู้รายงาน
บางคนความจำไม่ค่อยดีหรือความจำเสื่อม (ชัยยิอุล หิฟชุ), หรือเป็นผู้ที่ม่มีใครรู้จักหรือทราบประวัติ (มัจญฮูล), หรือ ใช้ค่าพูดในการรายงานอย่างกำกวมทำให้ผู้ฟังไขว้เขว (ตัค ลีซ), หรืออ้างการรายงานมาจากผู้ที่อยู่คนละยุคสมัยกับ ตัวเองหรือไม,เคยพบปะกันมาก่อน (อิงก็ฎออ์), หรือรายงาน ให้ใปขัดแย้งกับผูอื่นที่ได้รับการเชื่อถือมากกว่า (ชุสูช หรือ อิงการุ) ฯลฯ .1.
หะดีษต่าง ๆ ที่เข้าอยู่ในลักษณะที่กล่าวมานี้ ตามปกติ นักวิชาการหะดีษจะถือว่า จะนำมาอ้างอิงเป็นหลักฐานของ ศาสนาในเรื่องของทุกุมทั้งห้า คือ ฮารุส, สุนัด, วาญิบ, มักโระฮ์ และหะรอมไม่ได้, และจะอ้างอิงเป็นหลักฐานใน เรื่องเศ๊าะห์หรือบะฎ็อล (บะตาย) ก็ไม่ได้ ยกเว้นแต่ว่าหะดีษ ฎออีฟเหล่านั้นจะได้รับการสนับสนุนจากหะดีษบทอื่น (ชา อิด), หรือมีผู้ใดที่รายงานพ้องกันกับผู้ที่รายงานที่ขาดคุณ- สมบัติเหล่านั้น โดยรายงานมาจากเศาะฮาบะฮ์คนเดียวกัน (มุดาบะอฺะฮ์) หะดีษฎออิฟนั้นก็อาจจะยกฐานะตัวเองขึ้นมา จนสามารถอ้างเป็นหลักฐานได้ เรืยกว่าเป็นหะดีษ “หะสัน ลีตัยริฮี” หรือหะดีษที่สวยงามเพราะมีหะดีษกระแสอื่นมา สนับสนุน -..
เหล่านี้ เป็นเรื่องอันละเอียดอ่อนของวิชาการหะดีษ
ที่แม้แต่ผู้เขียนหนังสือดังกล่าวนั้น ก็ย่อมจะทราบและเข้าใจดี หากว่าไม่มีเจตนาจะบิดเบือนความจริง .-.
และหะดีษเรื่องการอ่านดัลกีนที่อ้างว่า ได้มีการรายงาน มาจากท่านอบี อุมามะฮ์ ร.ฎ.นั้น ตามข้อเท็จจริงแล้ว ก็ไม่ อยู่ในข่ายที่จะได้รับการยกเว้นดังกล่าว แม้ว่าจะมีนักวิขาการ ผู้ทรงเกียรติบางท่าน อาทิเช่น ท่านอิหม่ามนะวะวิย์ ได้กล่าว ยกเว้นเอาไว้ก็ตาม ซึ่งจะได้อธิบายรายละเอียดและข้อโต้แย้ง เกี่ยวกับเรื่องนี้ในตอนหลัง ดังนั้น ตามหลักการที่แท้จริงแล้ว เราจะกล่าวว่า “ลุนัดให้อ่านตัลกีน” ไม่ได้, เพราะ “สุนัด” เป็นหนึ่งจากหุกุมทั้งห้า การนำเอาหะดีษฎออีฟมาอ้างอิง เป็นหลักฐานในเรื่องสุนัต จึงเป็นเรื่องต้องห้ามตามทัศนะ ของนักวิชาการ ไมว่ามัสฮับใด ๆ ...
ตามปกติ คำพูดหริอข้ออ้างของนักวิชาการไม่ว่าจะ เป็นท่านใด ผู้ที่มีความเป็นธรรมอยู่ในห้วใจ จะต้องไมรีบ ยึดถือหรือนำมาปฎิบ้ติ เพียงเพราะเห็นว่า มันตรงต่อความ ต้องการของเรา แต่เราควรจะต้องพิจารณาและคำนึงถึงว่า คำพูดดังกล่าวนั้น ถูกต้องตาม “หลักฐาน” หริอตรงต่อ “หลักการ” อันเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปหรือไม่ เพราะ มนุษย์ทุกคนย่อมจะต้องมีการผิดพลาดและพลั้งเผลอด้วยกัน ทั้งนั้น นอกจากท่านรซูลุลลอฮ์ ซ.ล.แต่เพียงผู้เดียวที่ได้รับ
การคุ้มครองจากพระองค์อัลลอฮ์ ช.บ.แล้ว คำพูดใด ๆ ของ ท่านจึงเป็นสิ่งที่เรานำมาปฎิบํตตามและยึดถือได้ทันที หาก เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับศาสนา ...
ท่านซัยยึดันา อะสีย์ ร.ฎ.ได้เคยกล่าวไว้ว่า
“أَنْظُرْإِ لَى ماَقَالَ ، وَلاَ تَنْظُرْ إِلىَ مَنْ قاَلَ”
“จงพิจารณาคำพูดของบุคคล, แต่อย่ายึดถือตัวบุคคล”
8. มีกล่าวในหน้า 170 ว่า “มัสฮับฮันบะลีย์ นำเอา หะดีษฎออีฟมาเป็นหลักฐาน ไม่เพียงแด’เฉพาะในเรื่อง “ฟะ ด่ออิคุ้ลอะม้าล” เท่านั้น หากแต่ในเรื่องอื่น ๆ ด้วย” -..
เรื่องนี้ ท่านผู้เขียนได้เขียนไปโดยไม่ไดศกษาหลักการ เกี่ยวกับเรื่องหะดีษตามแนวทางของท่านหัมบะลีย์ให้เข้าใจ แจ่มแจ้งเสียก่อน เพราะตามแนวทางของท่านหัมบะสีย์นั้น ท่านได้แบ่งหะดีษออกเป็นเพียงสองประเภท คือหะดีษเศาะ เหี้ยะห์ และหะดษเฎ่าะอีฟ, ส่วนที่นิยมแบ่งกันโดยทั่ว ๆ ไป นั้น มักจะแบ่งออกเป็นสามประเภท คือหะดีษเศาะเหี้ยะห์, หะดีษหะสัน และหะดีษเฎาะอีฟ ซึ่งการแบ่งตังกล่าวนี้ เป็น ผลงานของท่านติรฺมีซีย์ ซึ่งต่อมาภายหลังก็ได้สับการยอมรับ กันอย่างกว้างขวาง สำหรับหะดีษเฎาะอีฟตามทัศนะของ
เรื่องนี้ ท่านผู้เขียนได้เขียนไปโดยไม่ไดศกษาหลักการ เกี่ยวกับเรื่องหะดีษตามแนวทางของท่านหัมบะลีย์ให้เข้าใจ แจ่มแจ้งเสียก่อน เพราะตามแนวทางของท่านหัมบะสีย์นั้น ท่านได้แบ่งหะดีษออกเป็นเพียงสองประเภท คือหะดีษเศาะ เหี้ยะห์ และหะดษเฎ่าะอีฟ, ส่วนที่นิยมแบ่งกันโดยทั่ว ๆ ไป นั้น มักจะแบ่งออกเป็นสามประเภท คือหะดีษเศาะเหี้ยะห์, หะดีษหะสัน และหะดีษเฎาะอีฟ ซึ่งการแบ่งตังกล่าวนี้ เป็น ผลงานของท่านติรฺมีซีย์ ซึ่งต่อมาภายหลังก็ได้สับการยอมรับ กันอย่างกว้างขวาง สำหรับหะดีษเฎาะอีฟตามทัศนะของ
ท่านหัมบะลีย์ ยังแบ่งออกเป็นอีกหลายระดับ หนึ่งจากนั้น ก็คีอหะดีษซึ่งนักวิชาการหะดีษอื่น ๆ ถือว่า เป็นหะดีษหะสัน นั้นเอง ...
พูดให้เข้าใจง่าย ๆ ก็ดีอว่า หะดีษซึ่งผู้อื่นถือว่า เป็น หะดีษ “หะสัน” ท่านหัมบาลีย์กลับถือว่า นั้นคือหะดีษเฎาะอีฟ (แด่อยู่ในระดับหนึ่ง) สำหรับท่าน -..
ดังนั้น คำกล่าวที่ว่า มัสฮับห้มบะลีย์นำเอาหะดีษ “เฎาะอีฟ” มาใช้เป็นหลักฐานข้อเท็จจริงของหะดีษเฎาะอีฟ ในที่นี้ ก็คือหะดีษหะสันของผู้อื่นนั้นเอง ไม่ใช่หะดีษเฎาะอีฟ จริง ๆ อย่างที่ท่านผู้เขียนหนังลือ “มัลอะละฮ์ อูกามา” เข้าใจ -..
(ดูรายละเอียด จาก อัลอิบดาอ์ ฟี มะฏริล อิบติดาอ์ หน้า 142-143
พูดให้เข้าใจง่าย ๆ ก็ดีอว่า หะดีษซึ่งผู้อื่นถือว่า เป็น หะดีษ “หะสัน” ท่านหัมบาลีย์กลับถือว่า นั้นคือหะดีษเฎาะอีฟ (แด่อยู่ในระดับหนึ่ง) สำหรับท่าน -..
ดังนั้น คำกล่าวที่ว่า มัสฮับห้มบะลีย์นำเอาหะดีษ “เฎาะอีฟ” มาใช้เป็นหลักฐานข้อเท็จจริงของหะดีษเฎาะอีฟ ในที่นี้ ก็คือหะดีษหะสันของผู้อื่นนั้นเอง ไม่ใช่หะดีษเฎาะอีฟ จริง ๆ อย่างที่ท่านผู้เขียนหนังลือ “มัลอะละฮ์ อูกามา” เข้าใจ -..
(ดูรายละเอียด จาก อัลอิบดาอ์ ฟี มะฏริล อิบติดาอ์ หน้า 142-143
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น