อารัมภบทของอาจารย์ปราโมทย์

พี่น้องที่เคารพครับ .. ขอเรียนว่า ส่วนใหญ่ของปัญหาที่ถูกถามมาเป็นปัญหาขัดแย้งหรือปัญหาคิลาฟียะฮ์ เพราะฉะนั้น ในการตอบปัญหาดังกล่าว หากปัญหาใดไม่สำคัญมากนัก ผมก็จะตอบแบบสรุปตามทัศนะที่มีน้ำหนักด้านหลักฐานมากที่สุดสำหรับผมโดยไม่ได้นำมุมมองด้านตรงข้ามมาด้วย แต่หากปัญหาใดจำเป็นต้องมีการชี้แจง ผมก็จะนำหลักฐาน(และการวิเคราะห์)รายละเอียดทั้งสองด้าน ประกอบในคำตอบด้วย และขอเรียนว่า

(1). คำตอบของผมแทบทั้งหมดไม่ใช่เป็นการอธิบายหะดีษหรืออัล-กุรฺอานเอาเองอย่างที่บางคนเข้าใจ แต่จะมีที่มาจากอิหม่ามทั้ง 4 ท่านที่โลกอิสลามยอมรับและนักวิชาการระดับโลกท่านอื่นๆด้วยทั้งสิ้น เพียงแต่บางครั้งผมมิได้อ้างนามพวกท่านในการตอบก็เพื่อประหยัดเวลาในการเขียนเท่านั้น

(2). คำตอบของผมในปัญหาใด ไม่ถือว่าเป็น "ข้อชี้ขาด" ความขัดแย้งในปัญหานั้น แต่เป็นการตอบตามการมองหลักฐานว่ามีน้ำหนักที่สุดในมุมมองของผม ซึ่งมุมมองของผมอาจจะผิดพลาดก็ได้ พระองค์อัลลอฮ์ ซ.บ. เท่านั้นที่ทรงรู้ดียิ่งในเรื่องนี้ ...

อ.ปราโมทย์ (มะหมูด) ศรีอุทัย


ติดต่ออาจารย์ปราโมทย์โดยตรงได้ที่

1. 1/22 หมู่บ้านสุขสมบูรณ์ ม. 5 ต. นาเคียน อ. เมือง จ. นคร ศรีธรรมราช รหัส 80000

2. เบอร์โทรศัพท์ 086-6859660

3. Facebook

4. เว็บไซต์

5.อีเมล
pramote.sriutai2559@gmail.com

วันพฤหัสบดีที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2560

อ่านตัลกีลให้กับผุ้ตาย สุนนะใคร (ตอนที่ 4)





โดยอ. ปราโมทย์ ศรีอุทัย 


3. ในหน้า 145 มีข้อความตอนหนึ่งว่า “นี่แหละคือ ตัลกีน ซึ่งมีวิธีปฎิบ้ตโดยสรุปก็คือ ใหใครคนหนึ่งจากบรรดา ผู้ที่นำศพเข้ากุโบรฺ อ่านหลังจากได้ทำการฝังเสร็จสิ้นแล้ว โดยให้อ่านเป็นภาษาอรับก็เพียงพอแล้ว” ...
ขอซี้แจงว่า แม้ว่านักวิชาการในมัสฮับซาพีอีย์จะได้นำ ถ้อยคำตัลก็นมาบันทึกไว้ในตำราเป็นภาษาอรับก็จริง แต่ ไม่เคยปรากฏว่า จะมีนักวิชาการท่านใดได้แนะนำหรือวาง เงื่อนไขเอาไว้ว่า จะต้องให้อ่านตัลก็นเป็นภาษาอรับ หาก ผู้ตายเป็นคนเชื้อชาติอื่นที่มีใช่ชาวอรับ, ตรงกันข้าม นัก วิชาการในมัสฮับซาฟิอีย์กลับมีทัศนะว่า การอ่านตัลกีน เป็นภาษาอรับให้แก่ผู้ตายที่พูดภาษาอรับไม่ได้นั้น เป็น เรื่องที่ไม่ถูกต้อง ..
ท่านซัยยิด อบู บักรฺ อัล ชัฏฎอ ได้กล่าวไวิในหนังสือ “อิอฺานะฮ์ฯ” ว่า .-.
وَاعْلَمُ أَنَّ السُّوءَال عَا مٌّ لُِكلِّ مُكَلَّفٍ وَيَكُوْ نُ بِحَسْبِ لُغَتِهِ عَلَ الصَّنحِيْحِ

“พึงทราบเถิดว่า การสอบถาม (ของมลาอิกะฮ์) นั้น ไม่มีการยกเว้นให้แก่มุกัลลัฟคนใด, และการสอบถามดังกล่าว จะไช้ภาษของเขา (มุกัลลัฟที่ตาย) เป็นเกณฑ์ ตามทัฯที่ถูกต้อง(ในมัสฮับชาฟีอีย์)”...
(ดู อิอานะฮ์ ฯ เล่มที่2 หน้าที่ 139)
ท่านอบุบักร อัลชัฏฏอ ยังได้กล่าวอธิบายกฏเกณฑ์ ของมัสฮับชาฟีอีย์ไว้ในหนังสือ “อิอานะฮ” เล่มที่1 หน้าที่ 19 ว่า..
وَأَ مَْا خِلأ فُ الصَْحيْحِ فَا لغَا لِبُ أَنَّهُ يَكُوْ نُ فَا سِدً لاَ يَجُوْ زُالأَ خْذُ بِهِ
“และอนึ่ง (ทัศนะใดๆ) ที่ขัดแย้งกับทัศนที่ถูกต้องตามปกติถือว่า “ทีศนะอันน้นยอ่มใช้ไม่ได้, และไม่อนุมัติให้นำมันมายึดถือหรือปฏิบัติ”
ก็แสดงว่า เมือ่พวกเราที่เป็นชาวไทยและพูดาษไทยได้สิ้นชีวิตลง มลากิก์มุงกัร และนะกีร ท่านก็จะมาถามเราด้วยภาษไทย เพื่อให้เราเข้าใจคำถาม มิฉะนันหากท่านเกิดถามเราเป็นภาษอาหรับแล้วเราตอบไม่ไดเพราะเราฟังภาษาอาหรับไม่รู้เรื่อง ท่านก็ไม่มีสทิธิที่จะมาทุบตีเรา เพราะเป็นการไม่ยุติธรรมต่อเรา นี่คือ ทัศนะที่ถูกต้องเขามัสฮับชาฟีอีย์ , ส่วนความเข้าใจทีว่า มลาอิกะฮ์มาสอบถาม เราเป็นภาษาอรับนั้น ถือว่า เป็นการไม่ถูกต้องและนำมา ยึดถือไม่ไต้ เพราะเป็นความเข้าใจที่ข้ดแย้งกับทัศนะที่ถูกต้อง ดังกล่าวมาแล้ว ดังนั้น ผู้ที่อ่านดัลกีนให้แก่เรา ก็จะต้องอ่าน เป็นภาษาไทยด้วยจึงจะถูก ...
มีอย่างที่ไหน มลาอิกะฮ์ท่านมาสอบถามเราเป็นภาษา ไทย แต่ผู้ที่สอนหรือดัลกีนให้เรากลับสอนเป็นภาษาอรับ เลียนี่?
บางคนอาจจะโต้แย้งว่า พระองค์อัลลอฮ์ ช.บ.ท่านมี ความสามารถที่จะให้เราเข้าใจคำถามที่เป็นภาษาอรับไต้, ไม่เห็นแปลก .-.
ก็ขอดอบว่า เริ่องความสามารถและเดชานุภาพแห่ง พระองค์อัลลอฮ์ ช.บ.นั้น ไม่มีมุสลิมที่มีอิหม่านคนใดสงสัย หรือปฏิเสธหรอก, แต่ที่อยากจะถามก็คีอว่า พระองค์อัลลอฮ์ ซ.บ.ได้เคยมีโองการเป็นการสัญญาไว้เมื่อไร และที่ไหน ว่าท่านจะให้ผู้ตายที่อยุ่ในหลุมฝังศพ ฟังภาษาอารู้เรือง?
4. ในหน้า 160 ท่านก็ได้นำหลักฐานของเรื่องการอ่าน ตัลกีน อันได้แก่หะดีษของท่านอบี อุมามะฮ์ ร.ฎ.มาลงบันทึก ไว้ ซึ่งผู้เขียนก็จะขอคัดลอกมาให้ท่านผู้อ่านไต้รับทราบ ชนิดคำต่อคำ รวมทั้งคำแปลด้วย ดังนี้ ...
عَنْ أََبِىْ أٌماَمَةَ رَضِىَ اللهُ عَنْهُ قَلَ ٠٠إِ ذَا أَنامُتَّ فَاصْنَعٌوْا بِىْ كَمٌ أَمَر نَا رَ سُوْلُ اللّهِ صَلَّ اللّهُ عَلَيْهِ وَسلَّمَ فَقَالَ ٠٠٠ إِذَا مَا تَ أَ حَدٌ مِنْ إِخْوَا نَكٌمْ فَسوَّ يْتُمُ ا لتٌّر اَ بَ عَلَ قَبْرِهِ فَلْيَقٌمْ أَ حَدُ كُمْ عَلَ ر أَسِ قَبْرِهِ ثُمَْ ْليَقُلْ ٠٠
يَا فُلاَ نُ ابْنُ فُلاَ نَةَ ! فَاءِنَّهُ يَسْمَعُهُ وَلاَ يُجِيْبُ *ـــ ـ ثُمَّ يَقُوْلُ يَا فُلَا نُ ابْنُ فُلاَنَةَ فإِنَّهُ يَقُوْلُ أَرْشِدْناَ يَرْ حَمُُكَ اللّهُ وَلَكِنْ لاَ تَشْعُرُوْ نَ ــ ـ ـ فَلْيَقُلْ اُذْكُر ماَ خَرَ جْتَ عَليْهِ مِنَ الدُّ نْيَا شَهَادَةُ أَنْ لاَإِلَهَ إِلاَّ اللهُ وَأَنَّ مُحَمَّدًا عَبْدُ هُ وَرَسُوْلُهُ ' وَأَنَّكَ رَضِيْتَ بِاللَّهِ رَبًّا ' وَبِالْإِ سلاَمِ دِيْنًا وَبِعُحَمَّدٍ نَبِيًّا وَبِا لْقُرْآ نِ إِماَماً ' فَإِنَّ مُنْكَرًا وَنَكِيْرًا يأْ خُذُ كُلَّ وَاحِدٍ مِنْهُمَ بِيَدِ صَاحِبِهِ وَيَقُوْلُ ' إِنْطَلِقْ بِنَامَا يُقْعِدُنا عِنْدَ مَنْ قَدْ لُقِّنَ حُجَّتَهُ' قَالَ فَقالَ رَجُلٌ يَارَسُوْلَاللَّهِ ! فَإِلَمْ يَعْرِفْ أُ مَّهُ ؟ قَالَ: يُنْسِبُهُ إِلَى أُمِّهِ حَوَّاءَ: ياَ فُلَ نُ ابْنُ حَوَّأَ " رَوَاهُا لطَبْرَانِىّ

ความว่า “จากอบี อุมาม์ อัลบฮิลีย์ รอดิยัลฯ กล่าว่า ...เมื่อฉันตาย พวกท่านจงอระทำให้แกฉันเหมือนกับที่ท่านรอซูล(ซล) ทรงใช้พวกรำกแก่คนตายของเรานบีศอลฯ ท่านกล่าวว่า เมื่อใครคนใดจากพวกท่านตาย (หมายถึงมุสลิม) แล้วพวกท่านได้เกลียพื้นดินบนกุโบร นั้นแล้วให้คนหนึงคนใดจากพวกท่านยืนทางแถบหัวกุโบรของผุ้ตาย แล้วให้เขากล่าวว่า (โอ้นาย ก. บตุรของนาง ข. แท้จริงผู้ตายนั้นได้ยินแต่ไม่ตอบอะไร และให้กล่าวต่อไปอีกว่า โอ้นาย ก. บุตรนาง ข. ผู้ตายจะกล่าวว่า จงแนะนำให้เราเถิด “ขอให้ อัลลอฮ์ประทานเราะห์มัตให้แก่ท่าน” แต่พวกท่านไม่รู้และ ไม่ไดยินคำกล่าวของผู้ตาย และให้เขากล่าวต่อไปเลยว่า จง นึกถึงสภาพที่ท่านออกจากโลกดุนยา อันได้แก่การปฏิญาณ ว่า “แท้จริงไม่มีพระเจ้าอิ่นใตนอกจากอัลลอฮ์ และแท้จริง นะบีมุฮัมมัดนั้น เป็นฺบ่าวและเป็นรซูลของอัลลอฮ์” และท่าน ไดยินดีในอัลลอฮ์เป็นพระเจ้า, ในอิสลามเป็นศาสนา, ใน มุฮัมมัดเป็นนะบี, ในกุรฺอานเป็นอิหม่าม ในขณะนั้นมุงกัรฺ และนะกีรฺ ต่างก็จูงมีอกันพลางกล่าวว่า เราไปกันเถิด ไม่มี ประโยชน์อัน'ใดที่เราจะนั่งอยู่กับผู้ที่,ได้รับการบอกคำตอบ อบู อุมามะฮ์กล่าวว่า ศอฮาบะฮ์ท่านหนึ่งได้ถามนะบี ค็อลฯ ว่า โอ้ รซูลุสลอฮ์ หากผู้อ่านตัลก็นไม่รู้จักชื่อแม่ของผู้ตาย จะว่าอย่างไร? ท่านนะบี ค็อลฯ ตอบว่า ก็ให้กล่าวว่า ลูก ของเฮาวาอ์ คือกล่าวว่า โอ้นาย ก. บุตรเฮาวาอ์ รายงานโดยต็อบรอนีย์ในมั้วะญัมอัล - กะบีรฺ ผู้เขียนขอเรียนซี้แจงข้อเท็จจริงของหะดีษบทนี้ ด้งนี้ ..1 ท่านกอฏิย์ อัลค็อลอิย์ ได้บันทึกหะดีษนี้ไว้ในหนังสือ “อัล ฟะวาอิด” ของท่าน หน้า 55 โดยรายงานมาจากอบี อัดด้รฺดา (มีชึ๋อจริงว่า ฮาชิม บีน มุหัมมัด อัล อันคอริย์), จากอุตบะฮ์ อิบนุลศะกัน, จากอบี สะกะริยา, จากญาบีรฺ บินสะอีด อัลอัสดีย์, จากท่านอบี อุมามะฮ์ อัลบฮิลีย์ รฏ...
ในสายรายงานดังกล่าว ท่านอัลบานีย์ได้กล่าววิ่จารณืไว้ว่า .......

" قُلْتُ: وَهَذَا اِسْنَادٌ ضَعِيْفٌ خِدًّ ، لَمْ أَعْرِفْ أَ حَدًا مِنْهُمْ غَيْرَ عُتْبَةَ بْْنِ اسَّكَنِ، قَالَ الدَّارُ قُطْنِىُّ : "مَتْرُوْكُ الْحَدِيْثِ، وَقَالً البَيْهَقِىُّ: ،وَاهٍ منْسُوْبٌ إِلىَ الوَضْعِ

“ฉันนขอก่ลาวว่า.... นี้เป็นสายรายงานที่อ่อนมาก, ฉันไม่เคยทราบประวั้ติของพวกเขาแม้แต่คนเดียว นอกจากอุตบะฮ์ อิบนุสสะกัน ซึ่งท่านอัดดารุ กุฏนีย์ ได้กล่าววิจารย์ว่าเป็น ”ผู้ที่ถูกเมินจากฮาดิษของเขา” และท่านอัลบัยหะกีย์ก็ได้กล่าว่า “เขา(อุตบ๊ะ) อ่อนมาก, ถูกนับว่าเป็นผู้ที่ชอบปลอมหะดิษรายหนี่ง” (ดู อัฏ เฏาะอีฟะห์ฯ ของท่านอัลบานีย์ เล่มที่2 หน้าที่ 64)
นอกจากนี้ท่านอัฏฏอบรอนีย์ ก็ได้บันทึกหะดิษบทนี้ไว้ใน “อัลมุอญัม อัลกะบีร” ของท่าน โดยสืบสายรายางาน ไปจนถึงท่าน “สะอีด บินอับดุลลาฮ อัลอัสดีย์, จากท่านอบี อุมาม๊ะ อัลบาฮิลีย์ รฏ เช่นเดียวกัน ซึ่งในสายรายงานกระแสนี้ ท่านอัลฮัยสะมีย์ได้กล่าววิจารย์ว่า ....

"رَوَاهُ ا لطَّبْرَا نِىُّ فِىْ " الْكََبِيْرَ "وَفِىْ إِسْنَا دِهِ جَمَاةٌ لَمْ أَعْرفْهُمْ "
“ท่านฏัฏ ฏอบรอนีย์ได้รายงานหะดิษนี้ไว้ใน “มุอญัมอัลกะบีร” และในสายรายงานของมัน มีอยู่กลุ่มหนึ่งที่ฉันไม่ทราบว่าเป็นใคร”
(ดู มัจญมะอ์ อัส สะวาอิด ของฮัยสะมีย์ เล่มที่ 3 หน้าที่ 45)
ทีน่าสังเกต อีกอย่างก็คือ ชื่อของผุ้ที่รายงานหะดิษนี้มาจากท่านอบี มุมามะฮ์ รฏ. ก็ยังสับสน เพราะในบันทึกของท่านอัลค๊อลอีย์ระบุช่อว่า “ญาบีร บินสีอด อัลอัสดีย์ แต่ในบันทึกของท่านอัฏฏอบรอนีย์ กลับระบุชื่อว่า “สะอีดบินอับดุลลฮ์ อัลอัสดีย์” แต่ท่านอบี หาติมได้ระบุชื่อไว้ในหนังสือบันทึกประวัติผู้รายงานหะดิษว่า “สะอีด อัลอัสดีย์” เสร้จแล้วท่านก็ทำเฉย คือไม่มีการวิจารณ์ว่าดีหรือไม่ดีแต่อย่างใด...
(ดูอัตตัลคส ของท่านอิบนุหะญัร เล่มที่2 หน้าที่143)
การกล่าวถึงบุคคลใด โดยไม่มีการวิจารณ์ประวัด แบบนี้ ดามหลักวิชาการหะดีษถึอว่า บุคคลผู้นั้น เป็น “มัจฮูล” คือ ไม่มีใครรู้จักหรือทราบประวิติ และหะดีษใด ๆ ที่รายงาน มาจากบุคคลประเภทนี้ ถือว่า เป็นหะดีษที่อ่อน -..
สรุปแล้ว ผู้รายงานหะดีษเกี่ยวกับเรื่องการตัลกีนจาก ท่านอบี อุมามะฮ์ ร.ฎ.ทั้งสองกระแส, ไม่ว่าจะเป็นกระแส ของท่านอัล คือลอีย์ หรือกระแสของท่านอัฏ ฎ็อบรอนีย์ ไม่ปรากฎว่าจะมีผู้ใดได้รับการเชื่อถือจากนักวิชาการหะดีษ แม้แด'คนเดียว ทว่า ล้วนแล้วแต่เป็น “อัล มะญาฮีล” คือ เป็นกลุ่มชนที่ไม่มีใครรู้จักหรือทราบประวัดแทบทุกคน และยิ่งไปกว่านั้น บางคนยังได้รับการวิจารณ์ว่า “ถูกนับ ว่า เป็นผู้ที่ชอบปลอมหะดีษรายหนึ่ง” อย่างที่ได้อธิบาย ผ่านพ้นมาแล้ว -..
ดังนั้น การกล่าวของท่านอิบนุ หะญัร อัลอัสเกาะลานีย์ ในหนังสือ “อัด ดัลคืส” ถึงสายรายงานหะดีษของท่านอบี อุมามะฮ์ ร.ฎ.ในกระแสของท่านอัฏ ฎ็อบรอนีย์ว่า “สาย รายงานของมัน ดี” นั้น จึงรับฟังไม่ขึ้น เพราะเป็นการ ขัดแย้งกับกฎเกณฑ์ของวิชาการอัล หะดีษอย่างขัดแจ้ง .-.
ท่านอัลบานีย์ได้กล่าวติงคำพูดของท่านอินุ หะญัรว่า...

"قَأَنَّى لهَزَآلإ سْناَدِ ا لصَّلاَ حُ وَاْ لقُوَّةُ وَفِيِهِ هَذَآلرَّجُلُ اْلجَهُوْلُ "
“ จะเป้นไปได้อย่างไรทีว่า สายรายงานของมันดี และแข็งแรง ในเมื่ในสายรายงานนั้นมีระบุชื่อของบุคคลที่ไม่มีใครรุ้จักผู้นี้ ? (หมายถึง “สะอีด อัลอัสดีย์” ที่ได้วิจารณผ่านมาแล้ว)
(ดู อัฏเฏาะอีฟะห์ เล่มที่2 หน้าที่ 65)
แถมผุ้รายงานคนอื่นๆ ก็ตกอยุ่ในลักษณะเดียวกันคือ “มัจฮุล “ ดังการวิจารณของท่านอัล ฮัยสะมีย์ ที่ผ่านมาแล้วเช่นเดียวกัน...
โดยนัยนี้ หะดิษเรือ่งการอ่าน “ตัลกีน” ที่บุคคนเหล่านี้ได้อางว่า รับฟังมาจากท่านอบี อุมามะ รฏ. จึงนำมาทำเป็นหลักฐานไม่ได้ เพราะถือว่าเป็นหะดิษที่อ่อนมาก จนกระทั่งท่านอัลบานีย์กล่าวว่า “เป็นหะดิษมุงกัร หรือหะดิษ ที่ถูกค้าน” ท่านเจ้าของหนังสือ “อัลมะนาร” กล่าว่า”เป็นหะดิษเก๊” ดังจะได้กล่าวต่อไป....
5. ในหน้า 162 มีข้อความว่า...“สำหรับผู้รายงาน หะดีษบทนี้ ก็คือท่านอิหม่ามติรฺมีซีย์ นักรายงานหะดีษที่ รู้จักกันดี”
ข้อความตอนนี้ น่าจะเป็นการพลั้งเผลอมากกว่าการ เจตนา เพราะท่านติรฺมีซีย์ไม่เคยรายงานหะดีษเรื่องการ อ่านตัลก็นเหล่านี้แม้แต่บทเดียว ผู้ที่รายงานก็คือ ท่านอัฏ ฎ็อบรอนีย์อย่างที่ทราบกันดีอยู่แล้ว ...



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น