อารัมภบทของอาจารย์ปราโมทย์

พี่น้องที่เคารพครับ .. ขอเรียนว่า ส่วนใหญ่ของปัญหาที่ถูกถามมาเป็นปัญหาขัดแย้งหรือปัญหาคิลาฟียะฮ์ เพราะฉะนั้น ในการตอบปัญหาดังกล่าว หากปัญหาใดไม่สำคัญมากนัก ผมก็จะตอบแบบสรุปตามทัศนะที่มีน้ำหนักด้านหลักฐานมากที่สุดสำหรับผมโดยไม่ได้นำมุมมองด้านตรงข้ามมาด้วย แต่หากปัญหาใดจำเป็นต้องมีการชี้แจง ผมก็จะนำหลักฐาน(และการวิเคราะห์)รายละเอียดทั้งสองด้าน ประกอบในคำตอบด้วย และขอเรียนว่า

(1). คำตอบของผมแทบทั้งหมดไม่ใช่เป็นการอธิบายหะดีษหรืออัล-กุรฺอานเอาเองอย่างที่บางคนเข้าใจ แต่จะมีที่มาจากอิหม่ามทั้ง 4 ท่านที่โลกอิสลามยอมรับและนักวิชาการระดับโลกท่านอื่นๆด้วยทั้งสิ้น เพียงแต่บางครั้งผมมิได้อ้างนามพวกท่านในการตอบก็เพื่อประหยัดเวลาในการเขียนเท่านั้น

(2). คำตอบของผมในปัญหาใด ไม่ถือว่าเป็น "ข้อชี้ขาด" ความขัดแย้งในปัญหานั้น แต่เป็นการตอบตามการมองหลักฐานว่ามีน้ำหนักที่สุดในมุมมองของผม ซึ่งมุมมองของผมอาจจะผิดพลาดก็ได้ พระองค์อัลลอฮ์ ซ.บ. เท่านั้นที่ทรงรู้ดียิ่งในเรื่องนี้ ...

อ.ปราโมทย์ (มะหมูด) ศรีอุทัย


ติดต่ออาจารย์ปราโมทย์โดยตรงได้ที่

1. 1/22 หมู่บ้านสุขสมบูรณ์ ม. 5 ต. นาเคียน อ. เมือง จ. นคร ศรีธรรมราช รหัส 80000

2. เบอร์โทรศัพท์ 086-6859660

3. Facebook

4. เว็บไซต์

5.อีเมล
pramote.sriutai2559@gmail.com

วันอาทิตย์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2560

อีดิลอัฎหาฮ์ มุสลิมทั่วโลกแยกกันไม่ได้กับการวุกุฟที่อารอฟะฮฺ (ตอนจบ)




อีดิลอัฎหาฮ์มุสลิมทั่วโลกแยกกันไม่ได้กับการวูกุฟที่อารอฟะฮุของประเทศ ซาอุดิอาระ

โดย อ. ปราโมทย์ ศรีอุทัย

3. แม่จะปรากฎว่า บรรดาเศาะหาบะฮ์จะพำนักอยู่ในเมืองหรือประเทศต่างๆใน สมัยก่อน ได้กำหนดเอาวันที่ 9 เดือนชุลหิจญะฮ์เป็นวันถือศิลอดอะรอฟะอ้ และวันที่ 10 เป็นวันนมาชอัลลอัฎหาอ้ในเมืองหรือประเทศของพวกท่านเอง (ซึ่งอาจจะตรงหรือไม่ ตรงกับวันอะรอฟะฮ์และวันอัฎหาฮ์ดามการกำหนดของมักกะอ้ก็ได้) .-.
แต่ข่อเท็จจรงก็คือ ไม่ปรากฏมีหลักฐานจากหะคิษบทใดเลยที่กล่าวว่า บรรดา เศาะหาบะฮเหล่านั้น “จงใจและเจดนา” จะถอศีลอดอะรอฟะฮ์หรือนมาชอีดิ้ดอัฎ-หาฮ์ใน ว้นที่ 9 และวันที่ 10 ซึ่งได้กำหนดโดยประเทศของดนเอง ทั่งๆที่(เหมือนพวกเราใน ปัจจุบัน) แล้วว่า วันอะรอฟะฮและวันอัฎหาฮ์ของมักกะฮ์ ดรงกับวันอะไร .
แน่นอน, คำกล่าวที่ว่า บรรดาเศาะห่าบะฮ์ซึ่งพำนักอยู่ในเมืองอื่นจงใจจะไม่ถีอ ศิลอดและนมาชอีดตามวันอะรอฟะส์และวันอัฎหาอ์ของมักกะฮ์ทั่งๆที่.. เป็นสิ่งไม่มีหลักฐานอ้าง นอกจากการคาดเดาเอาเอง .1.
ทว่า, กรณ์นี้ มี إِحْتِمَالคือ “ความเป็นไปได้ ว่า เหตุการณ์ดังกล่าวที่เกิดขึ้น เป็นเพราะพวกท่าน (ซึ่งก็เหนือนกับพวกเราในอดีดด้วย)ไม่รู้ และไมได้รับทราบข่าว การกำหนดวันอะรอฟ๊ะอ์และวันอัฎหาฮ์จากนครมักกะฮ์ ทันเวลา -. อันเนื่องมาจากความ ห่างไกลและความล่าช้าของการสื่อสารในสมัยโบราณ.-.
การ إِحْتِمَال ดังกล่าวนี้มีนํ้าหนักแห่งความถูกต้องเกือบร้อยเปอร์เซ็นต์เต็ม หาก
จะนำเอาสภาพการณ์ในอดีตของพวกเราเองเมื่อไม่กี่สิบก่อนหน้านี้ มาเป็นบรรทัดฐาน ในการเปรียบเทียบ ..1
ขนาดพวกเราเมื่อไม่กี่สืบปีก่อนซึ่งระบบการสื่อสารต่างๆขณะนั้นถือว่าก้าวหน้า และทันสมัยอยู่ในระดับใช้ได้แล้ว ก็ยังทราบข่าววันอะรอฟ์และวันอัฎหาฮ์ของมักกะฮ์ล่าช้าและไม่ทันเวลา จึงต้องกำหนดเอาวันที่ 10 เดือนชุลหิจญะฮของประเทศไทย เองเป็นวันนมาชอีดิ๋ลอัฎหาฮ์. เหมือนกันทั้งคณะใหม่และคณะเก่า! 1..
แล้วลองคิคดูว่า บรรดาเศาะหาบะฮซึ่งเคยมีชีวิตเมื่อพันสี่ร้อยกว่าปีก่อน จะ รับทราบข่าววันอะรอฟะอ์และวันอัฎหาอ์ของมักกะฮล่าช้าสักขนาดไหน ???..-
จะอย่างไรก็ตาม แม่'จะไม่สามารถรับรู้วันอะรอฟะฮ์และวันอัฎหาฮ์ได้ของมักกะฮ์ ได้ทัน เวลาก็จริง..-
แด่บรรดาเศาะหาบะฮ์เหล่านั้น (รวมทั้งพวกเราในอดีต) ก็ยังสามารถจะรู้วันที่ 9 และวันที่ 10 เดือนชุลหิจญะฮ์ - ซึ่งเป็นพี่นฐานของการกำหนดวับอะรอฟะ/และวันอัฏ หาอ์-จากการดูเดือนในเมืองหรือประเทศตนเองได้...
ดงนั้น การถือศิลอดอะรอฟะอ์ในวันที่ 9 และการนมาชอีดิลอัฎหาอ์ในวันที่
10 ตามการดูเดือนภายในประเทศตนเอง ของมุสลิมในยุคก่อนๆที่ผ่านมา จึง “เป็นสิ่งที่ ได้รบการอนุโลมและผ่อนผัน,, ตามหลักการอิสลาม ...
เพราะพระองค์ศัลลออ์ ช.บ. จะทรงใช้ให้ผู้ใด, ปฏิบัติสิ่งใด ก็หมายถึงว่าสิ่งนั้น จะต้องอยู่ภายใต้กรอบแห่ง “ความสามารถของเขา,, เท่านั้น .. ดังพระดำรัสของพระองค์ อัลลออ์ ซ.บ. ในชูเราะอึศัล-บะกอเราะอึ โองการที่ 286 ที่ว่า -. .لَا يُكَلِّفُ اللَّهُ نَفْسًا إِلَّا وُسْعَهَا
“พระองค์อัลลอฮ์จะไม่ทรงวาง “ภาระหนัก,, แก่ชีวิตใด เว้นแต่(จะให้ปฏิบัติ ตามสมรรถนะ (ความสามารถ) ของมันเท่านั้น,,
และดังคำกล่าวของท่านศาสดาบุหัมมัด ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะซัลลัมที่ว่า ...
إِذَاأَمَرْتُكُمْ بأَمْرٍ فَأُتُوْا مِنْهُ مَا اسْتَطَعْتُمْ
“เมื่อฉันใช้ให้พวกท่านทำสิ่งใด พวกท่านก็จงทำมันเท่าที่พวกท่านสามารถ,,
การไม่สามารถทราบข่าววันอะรอฟะอ์และวันอัฎหาอ์จากมักกะอ์ได้ทันเวลา สำหรับประชาชนในสมัยก่อนชึ่งอาศัยอยู่ในเมืองหรือประเทศที่ห่างไกล จึงถือเป็น ‘‘ข้อ ผ่อนผัน’,.. ตามนัยของอัล-กุรุอ่านและอัล-หะดีษข้างต้น...
แต่, ..ในยุคปัจจุบันนี้หากผู้ใดยังขืนอ่างว่า “ตนเองไม่สามารถรับรู้ข่าวสารเรื่อง วันอะรอฟะฮ์และวันอัฎหาอ์จากนครมักกะฮ์ได้ทันจึงมีสิทธิ์ได้รับการผ่อนผันเรื่องการดู เดือนเพื่อกำหนดวันนมาชอีดิ้ลอัฎหาอ์ในประเทศของดัวเอง,,. ก็คงจะเป็นเรืองทีรับฟังไม่ขึ้นและอาจะถูกข้อกล่าวหา – ตามสำนวนนักการเมืองว่า “เป็นคนพูดโกหกคำโต” แน่ๆ...
(เพราะฉะนั้น ในทัศนะของผม-(อาจจะผิดก็ได้) - ถือว่าพวกเราในประเทศ ไทยไม่มีทางเลือกอย่างอื่นในการถือศีลอดวันอะรอฟะฮ์และการนมาซวันอิดิลอัฎหาอ์ เว้นแต่จะต้องให้พร้อมกับวันอะรอฟะฮ์และวันอัฎหาอ์ของประเทศสอุดิอาระเบียเท่านั้น
อาจมีบางคนสงสัยว่า แล้วทำไมผมจึงไม่ยึดถือหลักการอย่างนี้บ้าง ในการถือศิล อดรอมะฎอนและการออกอีดิ้ลฟิตรี ??? .-.
คำตอบของผมก็คือ เพราะบรรทัดฐานของเรื่องการถือศีลอคเดือนรอมะฎอน และการนมาชวันอิดิลอัฎหาอ์ ต่างกัน ..-
ในเรื่องการถือศีลอดเดือนรอมะฎอน (และการออกอีดิลพีรี่) ท่านรอชู้ลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะชัลลัม ได้ “อนุญาตด้วยวาจา” แล้ว ให้แต่ละเมืองหรือแต่ละ ประเทศมีสิทธิดูเดือน เพื่อกำหนดวันถือศีลอดและวันออกอีดของตนเองได้ -. ดังความ เข้าใจจากคำกล่าวของท่านอิบนุอับบาส ร.ฎ. หลังจาก “ปฏิเสธ” ที่จะออกอีดตามการ
เห็นเดือนของท่านมุอาวียะฮที่เมืองชามว่า 
... هَكَذَاأمَرَنَا رَسُوْ لُ للّه صَلِّى اللهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ
: “อย่างนี้แหละฑี่ท่านรอชุลุลลอฮ รุลเลาะ ศอลล๊อลลลอฮุ อะสัยฮิวะวัลสัม ได้สังใช้เรา” -..
เมื่อท่านศาสดาอนุญาต, และผู้นำของมุสลิมในประเทศนี้ ก็เลือกที่จะใช้สิทธิที่ ไต้รับการอนุญาต..ถูกต้องตาม“วิธีการ” ที่ท่านนบีย์สั่งคือการดูเดือนเสี้ยวเป็นหลัก,
และ .. เมื่อท่านศาสดาสั่งว่า มุสลิมจะต้องเชื่อฟังและปฏิบัติตามผู้นำใน “สิ่งที่ ถูกด้อง”.. คือไม่ขัดกับบทบัญญัติและไม่เป็นการฝ่าฝืนต่อพระผู้เป็นเจ้า.-.
และ.. เมื่อท่านศาสดาสั่งอีกว่า ให้มีเอกภาพในการถือศีลอดและการออกอึด -..
และ.. เมื่อบรรดานักวิชาการชุนนะฮ์ (จริงๆ) มีทัศนะที่สอดคล้องกันว่า เอกภาพ ที่ท่านนบีย์สั่ง หมายถึง “เอกภาพภายในประเทศ” ก่อนอื่นใด.-.
ลองตอบมาซิครับ ว่า.. หากพวกท่านเป็นผม ซี่งมั่นใจว่า ตัวเองมีอีหม่านและ มุ่งมั่นจะปฏิบัติตามชุนนะฮ์ของท่านรอชุ้ลุลลอฮ์ คือลสัลลอฮุ อะสัยฮิวะซัลสัมอย่าง แท้จริง, ไมไช่อ้างซุนนะฮ์เพียงลมปาก -..
พวกท่าน จะตองท่าอย่างไรในกรณีนี ???...
وَاللهُ أَعْلَمُ بِالصَّوَابِ، وَإِلَيْهِ الْمَرَخِعُ وَالْمَآبُ، وَصَلَّى الله عَلَى سَيِّدِنَا مُحَمَّدٍوَعَلَى آلِهِوَصَحْبِهِ وَسَلَّمَ



อีดิลอัฎหาฮ์ มุสลิมทั่วโลกแยกกันไม่ได้กับการวุกุฟที่อารอฟะฮฺ (ตอนที่ 2)



อีดิลอัฎหาฮ์มุสลิมทั่วโลกแยกกันไม่ได้กับการวูกุฟที่อารอฟะฮุของประเทศ ซาอุดิอาระเปีย วุกุฟวันที่ 9 ที่ทุ่งอารอฟะฮ์รุ่งเช้าวันที่ 10 ด้องลิด วูกุฟอารอฟะฮ์ มุสลิมทั่งโลกจะด้องถือศีลอด 1 วัน รุ่งเช้าจึงออกศีดอฎหาฮ์


โดย อ. ปราโมทย์ ศรีอุทัย


สัตว์” .. นักวิชาการอธิบายว่า หมายถึงปศุสัตว์ทรือสัตว์สี่เท้าที่ให้เชือดเพื่อเสียดัม (สำหรับผู้ทำนัจพู) หรือเพื่อทำกุรฺบาน (สำหรับผู้ไม่ได้ไปทำนัจฌู)ในวันอัฎหาอ์ ... (สรุปจากตัฟซีรุ “ฟัตหุ้ลกอดีรุ’, ของท่านธัช-เชากานีย์ เล่มที่ 3 หท้า 642)...
สรุปแล้วการทำนัจญ-ตามรูปแบบของท่านนบีย์อิบรอฮีมอะลัยฮิสสลาม-จึง เป็นสิ่งที่มีมาตั้งแต่อดีตกาลแล้ว, และวันอัฎหาอ์ (วันเชือดสัตว์พลี, ซึ่งตรงกับวันที่ 10 ชุลหิจญะฮ์) ก็เป็นวันหนึ่งในพิธีกรรมหัจญ์ด้งกล่าว มาตั้งแต่อดีดเซ่นเดียวกัน ...
ส่วนรูปแบบในพิธีกรรมหัจญ์บางอย่างของท่านนบีย์อิบรอฮีม ก็อาจจะถูก บิดเบือนไปท้างโดยพวกญาฮึลียะฮ์ในยุคหลัง .-.
ตัวอย่างเช่น ..-
1. การเดินทางออกจากมุชดะลิฟะฮ์ของพวกญาเลียะฮ์ จะกระทำกันหลังจาก ควงอาทิตย์ขึ้นสูงเหนือยอดเขาษะบีรุแล้ว (จากอบุคาวูด หะคีษที่ 1938),...
2. จะไมมีการชะอฺยุ(สะแอ)ระหว่างเนินซอฟาและเนินมัรุวะฮ์(บุคอรีย์ หะดีษที่ 1643, 1648, มุสลิม หะดีษที่ 260/1277),...
3. การเปลือยกายเดินฎอว้าฟบัยตุลลอฮ็ได้(บุคอรีย์ หะดีษที่ 1665)เป็นด้น...
แต่ทว่า, ส่วนใหญ่จาก “รูปแบบ,, และ “วิธีการ” ทำนัจณูของท่านนบีย์อิบรอ
ฮึมอะลัยฮิสสลาม-รวมทั้งวันอัฎหาอ์ด้วย - ก็ยังคงได้รับการอนุรักษ์ต่อๆมา และถือ เป็น “ต้นแบบ” การทำนัจญ,ของท่านศาสดามุนัมมัด ศ็อลลัลลอยุ อะลัยฮึวะชัลลัมมา จนถึงปัจจุบัน .. ดังการรับรองของท่านศาสดามุหัมมัด ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะชัลลัมเอง ไนหะคีษบทหนึ่งซึ่งรายงานโดยท่านยะซีด บินชัยบาน อัล-อัชคีย์ ร.ฎ. ว่า -..
كُنَّا وُقُوْفًا بِعَرَفَةَ مكاَ نًا بَعِيْدًا مِنَ المَوْقِفِ، فَأَتاَنَآ بْنُ مِرْبَعٍ الأَنْصَارِىُّ فَقَالَ ؛ إِنِّىْ رَسُوْلُ رَسُوْلِ اللهِ صَلَّى اللهُ عَلَيْهِ وَسَلَّمَ إِلَيْكُمْ، يَقُوْلُ ؛ كُوْ نُوْا مَشَا عِرَكُمْ! (وَفِىْ عِبَارَةِ أَبِىْ دَاوُدَ ؛ قِفُوْا عَلَى مَشَا عِرِ كُمْ) فَإِنَّكُمْ عَلَ إِرْثٍ مِنْ إِر ثِ أَبِيْكُمْ إِبْرَ اهِيمَ عَلَيْهِ السَّلاَمُ
“พวกเราได้วุกุฟที่อะรอฟะฮ์กันในสถานที่หนึ่งซึ่งห่างไกลจากเมากิฟ(เขตของทุ่งอารอ ทุ่งอะรอฟะฮ์), ท่านอิบนุบิรุบาอฺ อัล-อันศอรีย์ ร.ฎ. ได้มาหาพวกเราแล้วกล่าวว่า.. “ฉัน เป็นทูตของท่าน รอซุล (ซล) มายังพวกท่าน, ท่านได้สั่งมา
ว่า “ พวกท่านจงอยู่ในเขตที่ถูกกำหนดไว้(مَشَاعِرُ ) ของพวกท่าน ! (คือ เขตของอะ
รอฟะธ์, -. ในสำนวนของท่านอบูลาวูดกล่าวว่า พวกท่านจงวูกุฟใน (مَشَاعِرُ ) ของพวก ท่าน).. เนื่องจากพวกท่านกำลังสืบทอด “มรดกหนึ่ง” มาจากบิดาของพวกท่าน คือ ท่านนบีย์อิบรอฮึม อะลัยฮิสสลาม”
(บันทึกโดย ท่านอัน-นะชาอีย์ หะดีษที่ 3014, ท่านอนูดาวูด หะดีษที่ 1919, ท่านอัต-ติรุมีชีย์ หะคีษที่883, และท่านอิบนุมาญะธ์ หะคีษที่3011, สำนวนข้างต้นนี้ เป็นสำนวนจากการบันทึกของห่านอัน-นะซาอีย์)..-
คำว่า (مَشَاعِرُ) หรือ “เขตที่ถูกกำหนดไว้”ในหะคีษนี หมายถึงเขตของทุ่งอะ รอฟะธ์ที่ถูกกำหนดไว้ตังแต่สมัยท่านนบีย์อิบรอฮีม อะลัยฮิสสลาม .-.
และดำว่า “มรดกหนึ่งของท่านนบีย์อิบรอฮีม” หมายถึง “พิธีกรรมหิจญ์” ของ ท่านนบีย์อิบรอฮีม อะลัยฮิสสลาม ซึ่งท่านไต้เคยกำหนดกรอบและวิธีการของมันมา ตั้งแต่อดีต อาทิเช่น การฎอว้าฟบัยต้ลลอฮ์, การวูถูฟที่ทุ่งอะรอฟะฮ์, การค้างคืนที่มุช ตะลิฟ่ะฮ์, การกำหนดวันที่ 10-11-12-13 เดือนซุลหิจญะฮ์เป็นวันอัฎหาอ์และวันตัชรีก เพื่อเชือดสัคว์พลี เป็นต้น ..-
เมื่อ“วันอัฎหาอ์”เป็นบัญญัติเดิมและเป็นชื่อเรียกตั้งเดิมของวันที่ 10ซุลหิจญะธ์ ในการทำหัจญ์ และเกี่ยวข้องกับการทำหัจญัมาตั้งแต่ยุคสมัยห่านนบีย์อิบรอฮีมแค้ว ..-
ดำนี้จึงเป็นที่มาของดำว่า “การนมาซอีดิ้ออัฎหาอ์” ของท่านรอชู้ลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะซัลลัม .- แม้ว่าขณะนั้นห้จญัของอิสลามจะยังไม่ถูกพิรฺถูลงมาก็ ตาม -..
และ.. หลังจากพิรฏูหัจญัของอิสลามถูกประทานลงมาให้แก่ท่านนบีย์มุหัมมัด ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะชัลลัมแล้ว ความสัมพันธ์ระหว่าง “วันอัฎหาอ์” กับ “การทำ หัจญ์” ก็ยิ่งแน่นแฟ้นขึ้น ชนิดแยกจากกันไม่ไค้อีก .. ดั่งเป็นที่ทราบกันดีและไม่มีความ
ขัดแยงใดๆของนักวิชาการในเรื่องนี้...
เพราะฉะนั้น หากผู้ใดกล่าวว่า การนมาชวันเดิ้ลอัฎหาอไเม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับ
การทำหัจญ์เลย,และแต่ละประเทศในปัจจุบันนี้มีสืทธิจะกำหนดวันที่ 10 ซุลหิจญะห์ เพื่อเป็นวันนมาซอีดิ้ลอัฎหาอ์ภายในประเทศของตนนองไต้เหมือนบรรดามุสลิมในอดีต โดยไม่มีข้อแม้ใดๆ ผู้นั้นก็จะต้องหาข้อมูลหรือหลักฐานมาเพื่อพิสูจน์ให้ไต้ว่า.-.

1. คำว่า “วันอัฎหาอ” เป็น “คำศัพท์ใหม่” ซึ่งท่านนบีย์มูหัมมัด ศีอลลัลลอฮุ อะ ลัยสิวะชัลลัมเพิ่งจะบัญญัติขึ้นมา เพื่อใช้เรียกเป็นชื่อวันนมาชอีดในวันที่ 10 เดือนชุล หิจญะฮ์ตั้งแต่ ปี ฮ.ศ. 1 หรอ 2 เป็นต้นมา, .. และคำๆนี้ก็ไม่เคยเป็นที่รูจักกันในอดีต, หรือ ไม่ได้มีที่มาจากพิธีกรรมหัจญ์ของท่านนบีย์อิบรอฮีม อะลัยฮิสสลาม (แล้วสืบทอคต่อมา จนถึง “หัจณ์อิสลาม” ในยุกของท่านนบย์มุหัมมัด ศ็อลลัลลอสิ อะลัยฮิวะชัลลัม) ? .-.
และคำว่า أَيَامٍ مَعْلُوْ مآتٍ หรือ “บรรดาวันที่เกันอยู่แล้ว” ในโองการที่ 28 ซูเราะฮ์
ะ* ^
อัล-'หัจญั ก็ไม่ได้มีความหมายถึงวันอัฎหาอ์เลย ?...

2. วันอะรอฟะฮ์เและ-วันอัฎหาอ์ ไม่จำเป็นจะต้องต่อเนื่องกัน .. แต่สามารถแยก จากกันได้..
ทั้งนี้ เพราะเหตุการณ์จริงที่เกิดขึ้นในการนมาชวันอีตั้ลอัฎหาอ์เมื่อเดือนธันวาคม ปี พ.ศ. 2550 ที่เพิ่งผ่านไปหยกๆก็คือ มีประชาชนบางคน ถือคืลอดอะรอฟะฮในวัน อังคาร ตามวันวุกุฟที่อะรอฟะฮ์ของผู้ทำหัจณ์ที่มักกะฮ์. ต่อจากนั้นจึง นมาซอดิ้ลอัฦหาอ์ ในวันพฤหัสบดี ตามการกำหนดของสำนักชุฬาราชมนตรี -..

3. บรรดาเศาะหาบะฮ์ซึ่งพำนักอยู่ในเนืองต่างๆที่ “ใกล้“ กับนครมักกะฮ์ในอดีต ไม่เคยสนใจหรือให้ความสำคัญกับวันอะรอฟะฮ์หรือวันอีดิลอัฎหาฮ์ฃองนครมักกะฮ์เลย แม้แต่น้อย .. ทว่า, พวกเขา “จงใจ” คูเดือนเพื่อกำหนดวันที่ 9 และวันที่ 10 1ดือนชุล หิจญะฮ์ให้เป็นวันถือศีลอคอะรอฟะฮ์และวันนมาชอีดิ๋ลอัฎหาอ์ของตนเอง ทั้งๆที่เอยู่ เต็มอกแล้วว่า วันอะรอฟะฮ์และวันอัฎหาอ์ฃองมักกะฮ์ ตรงกับวันไหน ??? ..-
พวกท่านจะต้องหาหลักฐานมาพิสูจน์ทั้ง 3 ประเด็นที่กล่าวมานี้ให้ใด จึงจะอ้าง สิทธิการคูเดือน เพื่อกำหนดวันนมาชอีคิ้ลอัฎหาอ์ภายในประเทศของตนเองได้ -..
แต่ถ้าหาหลักฐานมาพิสูจน์ไม่ได้ พวกท่านก็ต้องยอมรับความจริงว่า ..-
1. วันอัฎหาอ์เคยเกี่ยวข้อง, และจะยังคงเกี่ยวช้องกับพิธีกรรมหัจญ์ต่อไปและ ตลอดไป,..ไม่ว่าอดีด. ปัจจุบัน. อนาคต.. จนถึงวันอาคิเราะฮ์...
ดังนั้น “การนมาซอีด” ในวัน “อัฎหาอ” จึงไม่ใช่การนมาชอีคใน “วัน.ที 10 เดือนชุลหิจญะฮ์” ของแต่ละประเทศโดยเอกเทศ, แต่เป็นนนมาซที่ถูกกำหนดให้ทำใน “วันอัฎหาอ์” (วันที่ 10 เดือนชุลหิจญะฮ์) อันเป็นวัน ซึ่งมีชื่อเรียกโดย..เฉพาะ. :และมี ที่ มา จาก “พิธีกรรมหัจญ์” ของท่านนบีย์อิบรอเมในอดีต แล้วสืบทอดต่อมาจนถึง -หัจญ์ อิสลาม” ดังที่ได้อธิบายผ่านมาแล้ว -..
และเมื่อ “หัจญ์ของอิสลาม” ถูกฟัรฏูลงมาในฮิจเราะฮ์ศักราชที่ 9 หรือที่ 10 “การนมาซวันอีดิ้ลอัฏหาอ์” ก็ผุกพันกับ “การทำหัจญ์” อย่างแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น .. ดังหลักฐานที่กำลังจะอธิบายต่อไปในข้อที่ 2 คือ

2. วันอารอฟ๊ะฮ์ และวัน อัฏหาอ์ ไม่มีวันจะแยกจากกันได้
ท่านนบีมูฮัมหมัด(ซล) ได้เคยกล่าวในหะดิษบทหนี่งว่า..............
يَوْمُ عَرَفَةَ ، وَيَوْمُ ١لنَّحْرِ، وَأَيَّمُ التَشْرِيْقِ عِيْدُنَا أَ هْلَ اْلإِ سلاَمِ، وَهِيَ أَيَّمُ أَكْلِ وَشُرْبٍ
“ วันอารอฟะฮ์ (วันที่9) วันนะหัร( วันที่ 10) , และบรรดาวันตัชรี (วันที่ 11-12-13ฦ)เดือน ซุลหิจญะฮ์) คือวันอีดสำหรับพวกเราชาวมุสลิมโดยเฉพาะ, นั้นคือเป็นวันแห่งการกินและการดื่ม” ‘’ บันทึกโดยท่าน อบูดาวูด หะดิษที่ 2419 และท่านอัตตีรมีซีย์ หะดิษที่ 773 โดยรายงานมาจากท่านอุกบะฮ์ บินอามิร รฏ และหะดิษที่ถูกต้องดังการรับรองของท่าน อัล อัลบานีย์ ในหนังสือ إِرْوَاءُالغَليْلِ ” เล่มที่4หน้า 130, ท่านอัตติรมีซีย์,ในหนังสือ “الْجَا مِعُ الصَّحِيْحُ ” ตอนท้ายของหะคีษที่ 773, ท่านอัล-หากิมในหนังสือ “الْمُسْتَدْرَكُ” เล่มที่ 1 หน้า 600, และท่านอัษ-ษะฮะบีย์ในหนังสือ “ا تَلْخِصُ لْمُسْتَدْركُ”ซึ่งถูกตีพิมพ์ร่วมกับหนังสือ اَلْمُسْتَدْركُของท่านอัล-หากิม1ข้างค้น) 1..
นัยของหะดีษบทนี้บ่งบอกว่า วันทั้งหมดที่ท่านศาสดา ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะซัลลัมระบุมานั้นไม่ว่าจะเป็นวันอะรอฟะฮ์, วันอัฎหาอ์, และวันตัชรีกทั้งสาม- เป็น “วันอึด” .. คือวันดื่มกินของมุสลิม, มีความต่อเนื่องกันและเรียงกันเป็นถูกโซ่, ซึ่ง ไม่สามารถจะแยกจากกันได้
การที่ท่านศาสดา สั่งไห้ “ถือศีลอดในวันอะรอฟะฮ์” จึงมีความหมายเท่ากับท่าน
สั่งให้ “นมาชอึด'' ในวันรุ่งขึ้น -.ซึ่งจะเป็น“วันอัฎหาอ์”โดยอัตโนมัติ ...
เพราะฉะนั้น การถือศีลอดอะรอฟะฮ์ในวันอังคารแล้วเว้นวรรคไปนมาชอีดิ๋ลอัฎ หาอ์ในวันพฤหัสบดี จึงไม่มีในหลักการของชุนนะฮ -..
หมายเหตุ หะดิบบทข้างต้นนี้ ตามรูปการณ์แล้วท่านศาสดาน่าจะกล่าว ก่อน ฟัรฺฎหัจญ์ของอิสลามถูกประทานลงมา, เพราะหลังจากมีฟันฎูหัจญ์อิสลามแล้ว วันอะรอฟ่ะฮ์ ก็ถูกกำหนดให้เป็นวันถือศิลอดไม่ใชํวันดื่มกินอีกต่อไปสำหรับผู้ที่มิได้ไปทำพิธีหัจญ์ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว..




อีดิลอัฎหาฮ์ มุสลิมทั่วโลกแยกกันไม่ได้กับการวุกุฟที่อารอฟะฮฺ (ตอนที่ 1)



อีดิลอัฎหาฮ์มุสลิมทั่วโลกแยกกันไม่ได้กับการวูกุฟที่อารอฟะฮุของประเทศ ซาอุดิอาระเปีย วุกุฟวันที่ 9 ที่ทุ่งอารอฟะฮ์รุ่งเช้าวันที่ 10 ด้องลิด วูกุฟอารอฟะฮ์ มุสลิมทั่งโลกจะด้องถือศีลอด 1 วัน รุ่งเช้าจึงออกศีดอฎหาฮ์

...................................................................................................................................

โดย อาจารย์ปราโมทย์ ศรีอุทัย

หลังจากที่ผมเขียนหนังสือเล่มนี้จบลงไม่นาน ก็มีมิตรสหายบางท่านโทรศัพท์มา
เล่าให้ฟังว่า ได้อ่านเจอเว็บไซด์หนึ่ง ซึ่งเนื้อหาก็คือ การนมาชวันอีดิ้ลอัฎหาอ์ใน ประเทศไทยไม่จำเป็นจะต้องพร้อมกับวันอัฎหาท์ของประเทศซาอุดีอาระเบียก็ได้ เพราะ การนมาชวันอีด ถูกบัญณัติมาก่อนการทำหัจญ์ 8 - 9 ปี
แสดงว่าการนมาชอีดิ้ลอัฎหาอ์ไม่มีส่วนสัมพันธ์หรือเกี่ยวข้องกับการทำหัจณูและการวู กูฟทีทุ่งอะรอฟะฮ์...
ด้วยเหตุนี้ มุสลิมในเมืองต่าง ๆ สมัยนั้น,จึงสามารถกำหนดวันอีดิลอัฎหาอ์กันเองได้..... นอกจากนั้น ท่านนบีย์และบรรดาเศาะหาบะฮ์ซึ่งพำนักอยู่ที่นครมะดีนะฮ์ต่างก็กำหนด วันที่ 10 เดือนชุลหิจญะเป็นวันนมาซอีดิ้ลกัฎหาอ่ที่มะดีนะฮ์ โดยไม่เคยสนใจสอบถามว่า ที่มักกะฮ์มีการกำหนดวันอะรอฟะฮ์วันไหน หรือนมาซอีดกันวันไหน?...
ฯลฯ ...........
ชี้แจง
ถาการนมาซอีดี้ลอัฎหาอ์ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทำหัจญ์เลย ท่านนบีย์ก็คงจะไม่กล่าว ว่า “การนมาซอีดวันอัฎหาอ์”...
เพราะชื่อ “วันอัฎหาอ์” มิได้หมายถึงวันที่ 10 เดือนชุลหิจญะธ์โดยทั่ว ๆ ไป, แต่เป็น “ชื่อ” เรียกวันที่ 10 เดือนชุลหิจญะฮ์ซึ่งมีที่มาจากการทำหัจณ์ คือ เป็นชื่อวันเชือดสัตว์พลี (กัล- ฮัคยุ, หรือดัม) ในพิธีกรรมหัจญ ดังจะได้กล่าวต่อไป ....
ก่อนอื่น ผมขอเรียนชี้แจงเพื่อทำความเข้าใจกับปัญหาขางด้นดังต่อไปนี้ คำกล่าวที่ว่า“การนมาชอีดิ้ลกัฎหาอ์ ถูกบัญณัติมาก่อนการทำหัจญ์8หรือ 9ปี”
หากคำว่า “หัจญ์” ในที่นี้ หมายถึง “หิจญะดุ้ลอิฮฮาม” คือหัจญ์ซึ่งหระองท์กัลลอธ์ ช.บ. ได้ลงฟัรฎูให้แก่ท่านนบีย์ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะชัลลัมไนปีที่9 หรือปีที่ 10 ของเดือนฮิจเราะ ราชศักราชคำกล่าวนี้ก็เป็นคำกล่าวที่ถูกด้อง,....
หมายความว่า...ในช่วง 8 หรือ 9ปี แรกก่อนที่จะมีการพัรฏูหัจญ์ลงมา มุสลิมจะมีการ นมาซอีดกันเพียงอย่างเดียว ด้วยการกำหนดเอาวันที่ 10 เดือนชุลหิจญะฮ์ของเมืองประเทศ ตนเองเป็น “วันอัฎหาอ์” เพื่อการนมาซอีดโดยอิสระ,...
และระยะเวลาระหว่างนัน ไม่มีการทำหัจญ์ตามรูปแบบหจญ์ของอิสลาม, และ (คงจะ)ไม่มีการถือศีลในวันอะรอฟะย์ด้วย .-.
แต่ .. ข้อมูลเพียงเท่านี้ ก็หาใช่หลักฐานเพียงพอที่จะตัดสินว่า การนมาชวันอิดิ้ลอัฎหาอ์ ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทำหัจญ์เลย .-.
เพราะตามข้อเท็จจริงนั้น “วันอัฎหา” มีส่วนส้มพันธกับ “การทำหัจญ์” มาตั้งงแต่ สมัยโบราณ .. คือตังแต่สมัยท่านนบีย์อิบรอเม อะลัยฮิสสลามแล้ว ...
หลักฐานในเรื่องนีก็คือ การที่พระองค์อัลลอฮ์ ช.บ. ได้ทรงมีบัญชาต่อท่านนบีย์ อิบรอฮีม อะลัขอิสสลาม ให้ประกาศเชิญชวนประชาชนให้มาทำหัจญ์ที่นครมักกะย์ ตังที่มีระบุในโองการที่ 27-28 ชุเราะฮ์อัล-หัจญ์ ว่า ...
وَأَذِّن فِي النَّاسِ بِالْحَجِّ يَأْتُوكَ رِجَالًا وَعَلَىٰ كُلِّ ضَامِرٍ يَأْتِينَ مِن كُلِّ فَجٍّ عَمِيقٍ ( 27 )
لِّيَشْهَدُوا مَنَافِعَ لَهُمْ وَيَذْكُرُوا اسْمَ اللَّهِ فِي أَيَّامٍ مَّعْلُومَاتٍ عَلَىٰ مَا رَزَقَهُم مِّن بَهِيمَةِ الْأَنْعَامِ فَكُلُوا مِنْهَا وَأَطْعِمُوا الْبَائِسَ الْفَقِيرَ ( 28
“และจงประกาศแก่มวลมนุษย์เพื่อการทำหัจญ์ พวกเขาจะมายังเข้าด้วยการเดิน เท้าและบน (หลัง) ลูฐเพรียวทุกตัว, พวกเขาจะมาจากทางไกลทุกทิศทาง เพื่อจะได้ มาร่วมเป็นพยานในผลประโยชน์ของพวกเขา และกล่าวพระนามอัลลอย์ในบรรดาวันที่รู้ กันอยู่แล้ว ตามที่พระองค์ได้ทรงประทานปีจจัยยังชีพแก่พวกเขาอันได้แก่ปศุสัตว์(สัตว์
สี่เท้าเพื่อเชือดเป็นสัตว์พลี) ”
คำว่า “กล่าวพระนามอัลลอฮ์” ในโองการนนักวิชาการอธิบายว่า.- หมายถึง
การกล่าวพระนามอัลเลาะดอนเชือดสัตว์พลีในวันอัฦหาอ์...
คำว่า “บรรดาวันที่รู้กันอยู่แล้ว” นักวิชาการต่างเห็นพ้องกันว่า หมายถึง “วันอัฦ
หาอ์”อันเป็นวันเชือดสัตว์พลีชึ๋งตรงกับวันที่ 10เดือนชุลหิจญะ..
แต่ยังมีความขัคแยงกันเล็กน้อยในประเด็นที่ว่า “บรรดาวันทิ่รู้กันอยู่แล้ว” จะ หมายถึงวันอื่นๆด้วยหรือไม่ ? ... นักวิชาการบางท่านอธิบายว่า วันอัฏหาอ์ คือวันที่ 10 เดือนซุลหิจญะห์ และวันตัชรีกทั้ง3 คือวันที่ 11-12-13 เดือนซุลหิจญะห์ด้วย..


อ่านตัลกีลให้กับผุ้ตาย สุนนะใคร (ตอนจบ)




โดยอ. ปราโมทย์ ศรีอุทัย 
สรุปแล้ว ไม่มีหลักฐานจากหะดีษที่เคาะเหี้ยะห์บทใด ที่จะมาเป็น “ชาฮีด” หรือเป็นหลักฐานสนับสนุนหะดีษ ดัลกีนของท่านอบี อุมามะฮ์ ร.ฎ.อย่างที่ท่านผู้เขียนได้อ้าง
เอาไว้เลย -..
ข. การอ้างว่า “หะดีษตัลกีนนี้ ยังได้รับการสนุบสนุน จากอัลกุรฺอาน” ...
และอัลกุรฺอานที่ท่านได้ยกมาเป็นหลักฐานสนับสนุน เริ่องการอ่านตัลก็นของท่านนั้น ก็ได้แก่โองการที่ 55 จาก ชูเราะฮ์ อัล ชฺารืยาด ที่ว่า ..
. وَذَكِّرْ فَإِنَّ الذِّكْرَىٰ تَنفَعُ الْمُؤْمِنِينَ
“ด้งนั้น จงตักเตือนเถิด, เพราะการตักเตือนจะยัง ประโยชน์ให้แก่บรรดาผู้ศรัทธา”
เสร็จแล้ว ท่านก็ได้อธิบายต่อไปในหน้า 185 ว่า ..- “คำว่า “มุอฺมีนีน” ในโองการนี้ มีความหมายรวมถึง มุอฺมีนีนที่ตายแล้ว และที่ยังไม่ตาย”
นี้เป็นการอธิบายอัล กุรฺอานเอาเองโดยพลการ เพียง เพื่อชักลากเข้าหาเป้าหมายของตัวเอง ซึ่งเป็นเรี่องที่น่า หวั่นเกรงมากจากสัญญาลงโทษที่ท่านรชูลุลลอฮ์ ซ.ล.ได้ เคยกล่าวเอาไว้ว่า ผู้ใดอธิบายอัลกุรฺอานไปตามอารมณ์ ของตนเอง ก็ให้เขาจงเตรียมที่อยู่ในนรกได้
ผู้เขียนเองไม่เคยได้รู้หรือได้เห็นแม้กระทั่งเดึ๋ยวนี้ว่า จะมีนักอธิบายความหมายของอัลกุรฺอานหรือ “มุฟัซซีรียน” ท่านใด จะอธิบายโองนี้ไว้ในลักษณะอย่างนี้, นอกจากนัก วิชาการฟิกฮ์มัสอับชาฟิอีย์บางท่านเท่านั้นที่ถือโอกาสนำ เอาอายะฮ์อัล กุรฺอานบทนี้มาเป็นหลักฐานในเรื่องตัลกีน แล้วก็ขยายความเอาเองตามใจชอบ ...
จรงอยู่ คำว่า “มุอฺมินีน” ในอายะฮ์ดังกล่าวซึ่งแปลว่า “บรรดาผู้ที่ศรัทธา” จะเป็นถ้อยคำที่มีความหมายกว้าง ๆ ตามหลักภาษา, คือไม,จำกัดว่าจะเป็นผู้ศรัทธาทียังมีชีวิตอยู่ หรือตายไปแล้ว แต่เจตนารมณ์ของพระองคํอัลลอฮ์ ซ.บ. จากอายะฮ์หรือโองการนี้ หมายถึงให้พวกเราตักเตือนผู้ที่ ยังมีชีวิตอยู่ อันเป็นความหมายที่สามารถจะเข้าใจได้โดย อัตโนมัตสำหรับมุสลิมผู้มีสติสัมปชัญญะทุกคน เพราะถ้าหาก เราจะเอากันตามหลักภาษาจริง ๆ, คือให้ช่วยกันตักเตือน ทั้งผู้ที่ยังมีชีวิตอยู่และผู้ที่ตายไปแล้ว เราจะว่าอย่างไรกับ อายะฮ์ที่ 103 ซูเราะฮ์อัน นิชาอฺ ที่ว่า ...
إِنَّ الصَّلَاةَ كَانَتْ عَلَى الْمُؤْمِنِينَ كِتَابًا مَّوْقُوتًا
“แท้จริง การนมาชนั้น เป็นบทบัญญ้ติ (ฟ้เรฺสู) ที่ถูก กำหนดเวลาแก่บรรดาผู้ศรัทธาทั้งหลาย”
ในที่นี้ พระองค์อัลลอฮ์ ช.บ.ไดใช้คำว่า “มุอฺมีนิน” อย่างเดียวกันกับอายะฮ์ก่อน ตังนั้น หากเราจะอ้างหลักภาษา เหมือนอย่างที่เคยอ้างกันไว้ในเรืองตัลกีน คือมุอมีนีน นั้นมีความหมายรวมถึงมุอมีนีนที่ตายแล้ว และยังไม่ตายก็ต้องหมายความว่า พวกเราผุ้ศรัทธา ทั้งหลายที่นอนอยู่ในหลุมฝังศพนัน วาญิบต้องนมาซ 5 เวลาเหมือนบรรดามุมีนีนที่ยังมีชีวิตอยู่...
เราจะเอากันอย่างนี้หรือ..?
11 . มีกล่าวในหน้า 210 ..ว่าไม่มีอูละมาอหะดิษหรืออูลามะอ์ฟิกฮ์ท่านใดที่ถือว่า หะดิษอบี อุมามะฮ์นั้น เป็ฯหะดิษเก๊”
บางที่ ท่านผุ้เขียนอาจจะเคยเห็น แต่คงจะลืมหรือแกล้งทำลืมไปว่า ท่านศอนอานีย์ได้มีกล่าวไว้ใน “สุบุลุส สลาม”ว่า...
وَقَالَ فِىْ "الْمَنَارِ" : إِ نَّ حَدَيْثَ التَّلْقِيْنِ هَذَالَايَشُكُّ أَهْلُ الْمَعْرِ فَةِ بِالْحَدِيْثِ فِيْ وَضْعِهِ ـ ـ ـ وَابْنُ الْقَيِّمِ جَزَمَ فِى الْهَدْىِ بِمِثْلِ كَلا مِ الْمَنَارِ
“ท่านเจ้าของหนังสือ “อัลมะนาร” ได้กล่าวว่า..
แท้จริง หะดิษตัลกีนบทนี้ (คือ หะดิษตัลกีน ของท่านอบีอุมามะฮ รฏ) ไม่มีข้อสงสัยใดๆ เลยสำหรับผุ้ที่เข้าใจในวิชาการหะดิษในเรืองการเป็นหะดิษเก๊ ของมัน .... และท่าน อิบนุล ก๊อยยิมก็ได้แสดงความมันใจอย่างเดียวกับถ้อยคำใน”อัลมะนาร”(โดยกล่าวไว้) ในหนังสือ “อัลฮัดยุน นะบะวีย์” ของท่าน.........
( ดู สุบุลุส สลาม เล่มที 2 หน้าที่ 113 -114)
และตามรูปการนั้น ท่านอิหม่ามชาฝีฟีย์เอง ก็อาจจะไม่เคยทราบเกี่ยวกับเรื่องตัลกีนมาก่อน แต่ที่แน่ๆ ก็คือ ท่านไม่เคยอ่านตัลกีนให้แก่ใคร เรารู้เรืองนี้ได้จากคำบอกเล่าของศิษย์ของท่านผุ้หนึ่ง ซึ่งต่อมา ก็ได้กลายมาเป็นหนึงจากอีหม่ามทั้งสที่ที่โลกอิสลามให้ความเชื่อถือ นั้นคือ ท่านอีหม่ามอะหมัด อิบนุล หัมบัล.... ท่านอัลอัษร๊อม ได้กล่าวว่า.....
قُلْتُ لِأَحْمَدَ : هَذَآلَّذِىْ يَصْنَعُوْنَهُ إِذَادُفِنْ الْمَيِّ تُ يَقِفُ الرَّجُلُ وَيَقُوْلُ : يَافُلَانُ ابْنُ فُلاَ نَةَ؟ قَالَ : يَافُلَانُ ابْنُ فُلاَ نَةَ؟ قَالَ: ماَرَأَيْتُ أَحدًايفْعَلُهُإِلّاَ أَهْلَ الشَّامِ حِيْنَ مَاتَ أَ بُوْالْمُغِيْرَةِ
“ฉันใต้กล่าวแก่ท่านอะหมัดว่า ...สิ่งนี้ที่ประชาชน กำลังกระทำกันอยู่ คือเมื่อ ฝังผู้ตายเสร็จแล้ว ก็จะมีใครคนหนึ่ง ยืนขึ้นแล้วกล่าวว่า “โอ้ นาย ...บุตรของนาง ...” (ท่านจะ มีความเห็นอย่างไร?) ท่านอะห็มัดตอบว่า “ฉันไม่เคยรู้ว่า จะมีใครกระทำอย่างนี้ นอกจากชาวซีเรียในตอนที่ท่าน อบู อัลมุฆีเราะฮ์ตาย” -..
(ดู อิรวาอุล ฆอลีล เล่มที่3 หน้าที่ 205, อัตตัลคีส เล่มที่ 2 หน้า 143-144 สุบุลุส สลาม เล่มที่2 หน้า 113)
ถ้าสมมุติว่า ท่านอิหม่ามชาฟีอีย์จะเคยได้อ่านตัลกีน ให้แก่ใครมาบ้าง ท่านอิหม่ามอะห์มัด อิบนุ หัมบัลซึ่งเป็น ศิษย์ของท่านคนหนึ่ง ก็คงจะไม่กล่าวว่า “ฉันไม่เคยรู้ว่า จะมีใครกระทำอย่างนี้”, และจากคำตอบของท่านอิหม่าม อะหมัด ทำให้เราได้ทราบความจรีงอิกอย่างหนึ่งว่า ต้นกำเนิด ของการอ่านตัลก็นนั้น มาจากประเทคซีเรีย, โดยเฉพาะ จากเมืองหิมค์ ดังที่มีระบุไว้ในหนังสือ “สุบุลุส สลาม” ของท่านศ๊อนอานิย์ เล่มที่ 2 หน้า 114 -..
ก็น่าจะมาถึง “บทสรุป” เกี่ยวกับเริ่องหุกุมของการ อ่าน “ตัลกีน” ได้แล้วว่า เท่าที่ได้กล่าวมานี้ จะเห็นได้ว่า มีเพียงมัสฮับชาฝีอีย์เพียงมัสฮับเดียวเท่านั้น (ขอย้ำอิกครั้ง ว่า ไม่ใช่ตัวท่านอิหม่ามชาฝีอิย์เอง แต่หมายถึงผู้ที่อ้างว่า สังกัดมัสฮับของท่าน) ที่มีทัศนะว่า สุนัดให้อ่านตัลกีนแก่ ผู้ตาย ซึ่งตามหลักการที่แท้จริงแล้ว เราจะนำคำว่า “สุนัด” อันเป็นหนึ่งจากหกุมทั้ง 5 ของอิสลาม มาปรับใช้ไม่ได้เลย กับการอ่านตัลกีนซึ่งหลักฐานของมันเป็นหะดีษเฎาะอิฟ หรือหะดีษอ่อนมาก แถมนักวิชาการบางท่านยังถือว่า เป็น หะดีษเก๊ ดั่งที่ได้อธิบายผ่านพ้นมาแล้วในหน้า 67 ...
ส่วนในด้านทัศนะของนักวิชาการหะดีษอื่น ๆ นั้น ท่าน อาบาดีย์ ได้กล่าวไว้ว่า -..
وَالتَّلْقِيْنُ بَعْدَاْلَمَوْتِ قَدْجَزَمَ كَثِيْرٌأَنَّهُ حادِثٌ
“และการอ่านตัลกีนหลังจากการตายแล้วนั้น นักวิชาการ (หะดีษ) เป็นจำนวนมากที่เซึ่อมั่นว่า เป็นเรื่องบิดอฺะฮ์”
(ดู เอานุ้ล มะบูด เล่มที่ 8 หน้าที่ 386)
และท่านศ็อนอานีย์ก็ได้กล่าวไว้เช่นกันว่า
وَيَتَحَصَّلُ مِنْ كَلَا مِ أَ ءِمَّةِالتَّحْقِيْقِ أَنَّهُ حدِيْثٌ ضَعِيْفٌ، وَالعمَلُ بِهِ بِدْعةٌ، وَلاَيُغْتَرُّبِكَثْرَةِ مَنْ يفْعَلُهُ
“และ เมื่อได้กลั่นกรองจากคำพูดองนักวิชาการชั้นนำผู้เชียวชาญจริงๆ แล้วก็สรุปได้ว่าหะดิษเรืองตัลกีนนั้นเป็นหะดิษฏออีฟ, และการปฏิบัติตามนี้ เป็นบิดอะห์, ดั่งนั้นจงอย่าไปหลงคล้อยตามกับเพียงการเห็นว่า มีผุ้กระทำอยู่มาก” (ดู สุบุลุส สลามเล่มที่ 2 หน้าที่ 114)



อ่านตัลกีลให้กับผุ้ตาย สุนนะใคร (ตอนที่ 7)



โดยอ. ปราโมทย์ ศรีอุทัย 

10. มีกล่าวในหน้า 172 ว่า...'“แม้'ว่าฮะดีษนี้'จะเป็นฮะดีษดออีฟ แต่เนื้อหาของหะดิษได้รับการสนับสนุนจาก หะดิษอื่นที่ชอเหี๊ยะห์, จากอัล อุรุอาน จนกระทั่งระดับซึ่ง แต่เดิมเป็นดออีฟนั้น ได้กลายเป็น “หะซันลิฆอยริฮี” ...” จากคำกล่าวข้อนื้ พอจะสรุปได้ว่า ...
1. หะดีษตัลกีนของท่านอบี อุมามะฮ์ ร.ฎ. ได้รับการ สนับสนุน (ชาฮีด) จากหะดีษอื่นที่เศาะเหี้ยะห์ ...
2. หะดิษบทนื้ ยังได้รับการสนับสนุนจากอัลอุรุอาน ... ข้อเท็จจริงมีดังนื้ ...
1. หลักฐานสนับสนุนหรือที่เริยกกันตามศัพท์วิชาการ ว่า “ชาฮีด” หมายถึงหะดีษจากกระแสอื่น, ที่รายงานมา จากเศาะฮาบะฮ์คนอื่น แต่มีข้อความหรือเนื้อหา เหมือนหรือ คล้ายคลึงกับหะดีษเฎาะอีฟบทนั้น ๆ ซึ่งในที่นื้ จะยกตัวอย่าง ให้เห็นกันชัด ๆ ดังนื้ ..
ท่านอิบนุ มาญะฮ์ ได้รายงานหะดิษบทหนึ่งมาจาก ท่านญาบีรุ บีน อับดุลลอฮ์ ร.ฎ. ว่า
“ท่านนะบีย์มุหัมมัด ช.ล.นั้น เมื่อท่านจะขึ้นบนมีมบัรุ (ในวันศุกร์) ท่านจะให้สลาม”
(ดู อิบนุ มาญะห์ หะดิษที่ 1109)
หะดีษบทนี้เปีนหะดีษเฏาะอีฟ เพราะผู้รายงานท่านหนึ่ง คือ “ยิบนุ ลุฮัยอะฮ์” ถูกวิจารณ์ว่า ความทรงจำไม่ดี ...
แต่ขณะIดียวกัน ท่านอับดุล ร็อซซาก ก็ได้รายงานไว้ ใน ' “อัล มุศ็อนนัฟ” เล่มที่ 3 หน้า 192, จากท่านอฺะฎออ์, และ,ท่านอิบนุ อบีซัยบะฮ์ ก็ได้รายงานไว้ใน “อัล มุศ็อนนัฟ” เล่มที่ 2 หน้า 114 จากท่านชะอ์บีย์ โดยได้อัางมาตรงกัน ว่า .-.
“ท่านนะบีย์มุหัมมัด ช.ล.นั้น เมื่อท่านจะขึ้นบนมิมบัรฺ ในวันศุกร์ ท่านก็จะหันหน้ามาหาประชาชนแล้วกล่าวว่า ... อัสสลามุ อฺะลัยกุม”
หะดีษทั้งสองบทนี้ แม้สายรายงานจะถูกด้อง แต่มี ลักษณะเป็นหะดีษมุรฺชัล จึงถือว่าเป็นหะดีษเฎาะอีฟเช่น เดียวกัน ...
จะเห็นได้ว่า หะดีษของท่านอับดุล ร็อซซากและท่าน อิบนุ อบีชัยบะฮ์ แม้ว่าสำนวนของหะดีษจะไม่เหมือนกับ สำนวนของท่านอิบนุ มาญะฮ์ แต่ก็มีเนื้อหาเหมือนกันทุกอย่าง ดังนั้น หะดีษสองกระแสในตอนหลังนี้ จึงเป็น “ชาฮีด” คือ หลักฐานสนับสนุนหะดีษของท่านอิบนุ มาญะฮ์ให้กลายเป็น หะดีษ “หะสัน ลิฆ็อยริอี” คือหะดีษที่สวยงามเพราะการ ส่งเสริมของหะดีษกระแสอื่น จึงนำมาอ้างเป็นหลักฐานได้
ว่า “ การให้สลามของอีหม่ามแก่มะมูม ก่อนขึ้นมิมบัร เป็นซุนะฮ์”
ที่นี เรามาพิจารณาดูหะดิษเศาะเหี๊ยะห์ที่ถูกอ้างว่าเป็นฮาดิษ “ชาฮีด” หรือหลักฐานสนับสนุนหะดิษตัลกีน ของท่านอบีอุมามาะฆ์ รฏ. ซึ่งหะดิษดังกล่าวที่ท่านผุ้เขียนได้นำมาอ้างไว้นั้นมีอยู่สองบทดังนี้
1). ท่านอุมัร อิบนุลอาศ รฏ ได้มีคำสังก่อนสิ้นใจว่า ...
إِذَاأَنَامُتُّ فَلَا تَصْحَبْنْىْ ناَمُحِةٌ وَلاَ نارٌ ، فَإِذَادَفَنْتُمُوْنِىْ فَشُنُّوْاعَلَىَّ التُّرَابَ شَنَّا، ثُمَّ أَقِيْمُوْاحَوْلَ قبْرِىْ قَدْرَمَاتُخَرُ جَزُوْرٌوَيُقْسَمُ محْمُهَاحَتَّى أَسْتَأْنِسَ بِكُمْ وَأَنْظُرَ مَاذَاأُرَاجِعُ بِهِ رُسُلَرَبِّىْ
“เมื่อฉันตายลงพวกท่านจงอย่าคร่ำครวญและอย่าจุดเพลิง , และเมื่อพวกท่านฝังฉันแล้ว ก็จงเกลี่ยดินให้เรียบ แล้วพวกท่านจงรออยู่อีกครู่หนึ่ง รอบๆ หลุมของฉัน ประมาณเวลาเท่ากับที่พวกท่านเชื่อดแพะและแจกจ่ายเนื้อของมัน เพราะฉันจะได้อบอุ่นใจกับพวกท่าน และเพื่อฉันจะได้รู้ว่าฉันควรจะตอบ(คำถาม) ของทูตแห่งพระผุ้อภิบาลของฉันว่าอย่างไร”
(ดุมุสลิม จากชัรหุ้นนะวะวีย์ เล่มที่2 หน้าที่ 138-139)
2) . มีรายานมาจากท่านอุษมาน บินอัฟาน รฏ. ว่า....
كَانَ النَّبِىُّ صَلَّى اللهُ علَيْهَ وَسَلَّمَ إِذَافَرَغَ مِنْدَ فْنِ الْمَيِّتِوَقَفَ عَليْهِ فَقاَلَ: إِستَغْفِرُوْالأِخِيْكُمْ، وَسَلُوْالَهُ التَّثْبِيْتَ، فَإِ نَّهُ الْآنَ يُسْأَلُ
“ท่าน นะบีมูฮัมหมัด ซล. นั้น เมื่อฝังผู้ตายเสร็จแล้ว ท่านก็จะยืนขึ้น และกล่าว่า “พวกท่านจงขออภัยโทษให้แก่พี่น้องของท่าน (ที่ตาย) และจงขอให้เขาได้มั่นคง (ในชะฮาดะห์) ของเขา เพราะขณะนี้เขากำลังถูกสอบถาม”
(ดู อบุดาวูด หะดิษที่ 3205, อัลหากิม เล่มที่1 หน้าทื่ 370- อัลบัยหะกี เล่มที่4 หน้าที่ 56.)
เมื่อเราได้พิจารณาหะดีษสองบทนี้อย่างถี่ถ้วน เราก็ จะไม่พบว่ามีส่วนไหนพอที่จะเป็น “ชาฮีด” ให้แก่หะดิษ ของท่านอบี อุมามะฮ์ได้เลย เพราะไม่ว่าจะเป็นส่านวนของ หะดีษหรือเนื้อหาของมัน ไม่มีตอนไหนที่ “เหมือน” หรือ “คล้าย” หะดีษตัลกีนคังกล่าวนั้นแม้แต่นิดเดียว โดยเฉพาะ
ประเด็นสำคัญในหะดีษ “ตัลกีน” ของท่านอบี อุมามะฮ์
อาทิเช่น การกล่าวแก่คนตายว่า โอ้นาย ก. บุตรนาง ข.
ก็ดี, มลาอิกะฮ์มุงกัรฺและนะกีรฺต่างจูงมือกันเดินหนีก็ดี,
หากไม่รู้จักชื่อแม่ของผู้ตาย ก็ให้กล่าวว่า เป็นลูกของเอาวาอ์
ก็ดี เหล่านี้ จะเห็นได้ว่า ไม่ปรากฎมีอยู่ในสำนวนหะดีษ
สองบทนั้นแด่อย่างใด -..
ด้วยเหตุนี้ ท่านค็อนอฺานิย์จึงได้กล่าวไว้ในหนังสือ “สุบุลุส สลาม” ว่า -..
“และอนี้ง การอ้างหะดีษที่ว่า ...และจงขอให้เขาได้ มั่นคง (ในชะฮาดะฮ์) ของเขา เพราะขณะนี้ เขากำลังถูก สอบถาม” มาเป็นหลักฐานสนับสนุนหะดีษตัลกีนนั้น ก็ไม่ ปรากฎข้อความที่จะเป็น “ชาฮีด” ให้แก่เรื่องตัลกีนในหะดีษ นี้เลย, และในทำนองเดียวกัน คำสั่งของท่านอัมรฺ อิบบุลอฺาค ร.ฎ.ที่,ให้รออยู่ที่หลุมฝังศพของท่านประมาณเวลาเท่ากับ การเชื่อดแพะ เพื่อท่านได้อบอุ่นใจกับพวกเขาในขณะที่จะตอบคำถามของมลาอิกะฮ์ ก็ไม่มีสวนไหนที่จะสนับสนุนหะดิษตัลกีนเดียวกัน”
(ดุ สุบุลุส สลาม เล่มที่2 หน้าที่ 114)
และหะดิษศอเหี๊ยะอีกบทหนึ่งที่ท่านผู้เขียนได้นำเอามาเป็นหลักฐานสนับสนุหะดิษตัลกีนก็คือ หะดิษของอบุ สะอีด อัลคุดรีย์ รฏ. ซีงได้รายงานมาจากท่าน นะบ์ ซล.ว่า
لَقِّنُوْاموْتاَكُمْ لاإِلَهَ إِلاَّاللهُ
“พวก ท่านจงสอนผุ้ที่ (ไกล้จะ) ตายของพวกท่านว่า”ลาอีลาฮะ อิลลัลเลาะฮ)
(ดุ มุสลิม จากชัรหุ้นมะวะวีย์เล่มที่ 6 หน้าที่ 219, อบุดาวูด หะดิษที่ 3101 นซาอีย์ เล่มที่ 4 หน้าที่5, ตีรมีซ๊ย์ หะดิษที่ 983, อิบนุมาญะฮ์ หะดิษที่ 1445, อัลบัยหะกีย์ เล่มที่3 หน้าที่ 383 ,อะหมัด เล่มที่3 หน้าที่ 3, และอิบนุอบีชัยบะห์ เล่มที่ 4 หน้าที่ 75)
จริงอยู่ แม้ว่าความหมายตามรากศัพท์เดิม ของคำว่า”เมาตา” หมายถึงผู้ที่ตายแล้ว และท่านอีหม่ามนซาอีย์จะได้ตั้งบทไว้จากหะดิษบทนี้ว่า “ตัลกีนผู้ตาย” แต่ตามความหมายเป็นจริงแล้ว มีหะดิษที่เศาะเหี๊ยะ บทอื่นอีกที่มา “ขยายความ” หะดิษบทนี้จนทำเราทราบใด้ว่า คำว่า “เมาตา” ในที่นี้หมายถึงผู้ที่ใก้ลตาย หะดิษดังกล่าวได้แก่หะดิษซึ่งท่านอบู ดาวูดได้บันทึกมาจากรายงานของท่านอุอาส บินญะบัล รฏ. จากท่านรอซูล (ซล) กล่าว่า
مَنْ كَانَ آخِرُكَلاَمِهِ لَاإِلَهَ إِلّآللّهُ دَخَلَ الجَنَّةَ
“ผู้ได ที่คำพูดสุดท้ายเขาคือ “ลาอีลาฮะ อิลลัลเลาะ” เขาก็ได้เข้าสวรรค์”
(ดู อบุดาวุด หะดิษที่ 3100)
และหะดิษซึ่งท่านอิบนุ หิบาน ได้บันทึกไว้ใน “อัสเศษะเหียะห์” ของท่าน หะดิษที่ 719 โดยรายงานมาจากท่านอบู ฮุรอยเราะห์ รฏ. จากท่านรอซูล (ซล) ว่า
لَقِنُوْامَوْتَاكُمْ لَاإِلَهَ إِلاَّاللَّهُ،مَنْ كَانَ آجِرُكَلاَ مِهِ لاَ إِلَهَ إِلّاَ اللهُ عِنْدَالْموْتِ دَ خَلَ الْجَنَّةَــ ــ ــ
“จงสอนผู้ที่ (ใกล้จะ) ตายของพวกท่านว่า “ลาอิลาฮะ อิลลัลลอฮ์” ผู้ใดที่คำพูดครั้งสุดท้ายของเขาคือ “ลาอิลาฮะ อิลลัลลอฮ์” ในขณะที่ใกล้จะตาย เขาก็จะได้เข้าสวรรค์”
ด้วยเหตุนี้ นักวิชาการหะดีษ (จริง ๆ) ทุกคน จะไม่มี ใครอธิบายคำว่า “เมาตา” ในหะดีษบทนั้นว่าหมายถึง “ผู้' ที่ตายแล้ว” เลย, แต่จะอธิบายเหมือนกันหมดว่า หมายถึง “ผู้'ที่ใกล้จะตาย” แม้กระทั่งนักวิชาการหะดีษในมัสฮับฟาฟิอีย์ เอง อย่างท่านอิหม่ามนะวะวิย์ หรือท่านสะยูฎีย์ ก็อธิบาย คำว่า “เมาตา” ในที่นี้-ว่า หมายถึงผู้ที่ใกล้จะตายเช่นเดียวกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ท่านอิหม่ามนะวะวิย์เองก็เป็นอีกผู้'หนึ่ง ที่มีทัศนะว่าให้อ่านตัลกีนได้ แต่ท่านก็ไม่ได้อ้างเอาหะดีษ บทนี้เป็นหลักฐานในเรื่องการอ่านตัลกีนแต่อย่างใด ทั้ง ๆที่ หะดีษบทนี้เป็นหะดีษเศาะเหี้ยะห์, แต่ท่านกลับไปอ้างเอา หะดีษของท่านอบี อุมามะฮ์ ร.ฎ.ซึ่งท่านก็ยอมรับว่าเป็น หะดีษเฎาะอีฟ แต่อนุม้ติให้นำมาปฎิบ้ติได้ เพราะในทัศนะ ของท่านถือว่า การอ่านตัลกีนเป็นฟะฎออิลุ้ล อะอ์มาล ซึ่ง ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องนี้ ผู้เขียนก็ได้ชี้แจงให้ท่านผู้อ่านได้ รับทราบรายละเอียดไปแล้ว ...
ท่านผู้อ่านที่สนใจและอยากเห็นการอธิบายความหมาย ของคำว่า “เมาตา” ในหะดีษบทนี้ว่าบรรดานักวิชาการหะดีษถือว่า หมายถึง “ผู้ที่ใกล้จะตาย” ก็ให้เปิดดู “ชัร.หุมุสลิม”ของนะวะวีย์ เล่มที่ 8 หน้า 386, “นซาอีย์” เล่มที่ 4 หน้า 5 จากคำอธิบายของ ท่านสะยูฎึย์ และท่านชันคีย์, “ตุห์ฟะตุ้ล อะห์วะชีย์” เล่ม ที่ 4 หน้า 52
ส่วนการที่ท่านนชาอีย์ได้นำเอาหะคีษบทนี้ไปบันทึก ไว้ในบทที่ว่า “ตัลกีนุล มัยยิด” ชึ่งแปลว่า “การสอนผู้ตาย” ก็ไม่ได้หมายความว่า ท่านจะหมายถึงผู้ที่ตายแล้วอย่างที่ ท่านผู้เขียนหนังสือ “มัสอะละ อูกามา” เข้าใจ แต่เห็นได้ ชัดว่า เป็นการตั้งบทนำเรื๋องให้เข้ากับสำนวนของหะดิษ มากกว่า เพราะในหะดิษใช้คำว่า “เมาตา” แปลว่า บรรดา ผู้ที่ตาย ชึ่งเป็นพหูพจน์ของคำว่า “มัยยิต” ในสำนวนของ ท่านนชาอีย์ ที่แปลว่า ผู้ตายเพียงคนเคียว แต่เป้าหมายของ คำ ๆ นี้จากหะดิษ หมายถืง ผู้ที่ใกล้จะตาย ดังนั้นสำนวน ของท่านนชาอีย์ จึงต้องมีความหมายเช่นเคียวกัน ...
ขออธิบายเพิ่มเติมอีกนิดหนึ่งว่า การตั้งชื่อบทใด ๆ ของนักวิชาการนั้น ไม่ได้หมายถืงว่าข้อเท็จจริงและเจตนารมณ์ ของผู้ตั้งชื่อ จะต้องเป็นไปดามคัวอักษรนั้น ท่านบุคอริย์เอง ก็ได้เคยตั้งชื่อบทไว้ในบทที่ 39 เกี่ยวกับเรึ๋องการนมาช วันศุกร์ว่า “บทว่าด้วยเรื่องการนมาช (สุนัด) หลังนมาช
วันศุกร์และก่อนจากนั้น” แล้วท่านก็ได้อ้างรายงานหะดีษฺ จากท่านอับดุลลอฮ์ อิบนิ อุมัรฺ ร.ฎ•ว่า ...
“ท่านรชูลุลลอฮ์ ซ.ล.จะนมาซ (สุนัต) ก่อนนมาซชุฮ์ริ 2 ร็อกอุะฮ์ และหลังนมาชชุฮ์ริอีก 2 ร็อกอุะฮ์, และหลังจาก มัคริบ 2 ร็อกอุะฮ์ที่บ้านของท่าน, และหลังจากนมาซอีชาอ์ 2 ร็อกอุะฮ์, และท่านจะไม่นมาซ (ศุนัต) หลังจากนมาช วันศุกร์เสร็จแล้ว จนกว่าท่านจะกลับถึงบ้าน แล้วท่านก็จะ นมาซ 2 ร็อกอุะฮ์” ..-(ดู อัลบุคอรีย์ หะดิษที่ 937)
จะเห็นได้ว่า แม้ท่านบุคอรีย์จะได้ตั้งชื่อบทว่าด้วยเรื่อง การนมาชสุนัตหลังวันศุกร์และก่อนจากนั้น แต่ในสำนวน ของหะดีษ ไม่ปรากฎว่า จะมีการระบุเรื่องการนมาซสุนัต ก่อนวันศุกร์เอาไว้เลย เพราะการนมาชสุนัดก่อนการนมาช วันศุกร์ เป็นสิ่งที่ไม่มีหลักฐานมาจากชุนนะฮ์แต่อย่างใด ดังนั้น การตั้งชื่อบทในตำราของนักวิชาการ เราจึงนำเอา มาถือเป็นมาตรการว่า ข้อเท็จจริงจะต้องเป็นไปตามนั้น ทั้งหมดไม่ได้ -..



วันอังคารที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2560

อ่านตัลกีลให้กับผุ้ตาย สุนนะใคร (ตอนที่ 6)



โดย อ. ปราโมทย์ ศรีอุทัย 
9. มีกล่าวในหน้า 171 ว่า ...“เพราะตัลกีนนั้น เป็น ฟะดออีลุ้ลอะม้าล คืออะมั้ลที่เป็นสุนัต อะนั้ลเกี่ยวกับการขอพร, อะนั้ลที่เกี่ย่วกับซิกรฺ ถึงแม้ว่าหะดีษนั้นจะดออีฟ แด่ก็นำมา เป็นหลักฐานในเรื่องทำนองนี้ได้” ..-
ในที่นี้ มีเรื่องที่จะต้องชี้แจงหลายอย่างดังนี้ ...
ก. ท่านอิหม่ามนะวะวิย์ได้กล่าวไว้ใน “อัล อัลการ.” ของท่าน หน้า 7 ว่า
وَيُسْتَحَبُّ ا لعمَلُ فِى اْلفَضَاءىِلِ الضَّعِيْفِ."
“และชอบที่จะให้มีการปฎิบ้ติใน.รื่องฟะฎออิตุ้ล อะอฺมาล, (งานเสริมหรือเพิ่มเติมผลบุญ), ในเรือง ติรฺฆีบ (กระตุ้นให้ กระทำความติ), และตัรฺฮีบ (สำทับให้หวาดเกรงความชั่ว) ดามหะติษเฎาะอีฟ ...”
คำว่า “ชอบที่จะให้มีการปฎิบ้ติดามหะดีษเฎาะอีฟ” กับคำว่า “นำหะดีษเฎาะอีฟมาเป็นหลักฐาน” นั้น ความหมาย ไม่เหมือนกัน ...

ไม่มีนักวิชาการท่านใดกล่าวว่า อนุญาตให้นำหะดีษ เฎาะอีฟมาเป็นหลักฐานได้ ไม่ว่าในเรื่องใด ๆ แต่มีนักวิชาการ บางท่านอนุโลมหรือส่งเสริมให้ปฎิบ้ติตามหะดีษเฎาะอีฟใน สิ่งที่กล่าวมาแล้ว เพราะทุกท่านย่อมทราบดีว่า หะดีษเฎาะอีฟ นั้น นำจะไม่ใช่คำพูดของท่านรชูลุลลอฮ์ ช.ล. การนำ หะดีษเฎาะอีฟมาเป็นหลักฐาน จึงอาจจะนำมาซึ่งการยัดเยียด ความเท็จให้แก่ท่าน, และอาจจะเป็นการสร้างบทบัญญ้ติ
ใด ๆ ในศาสนาขึ้นมาโดยพลการก็เป็นได้ แต่ถ้าหากหะดีษ เฎาะอีฟดังกล่าวเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับเรื่องการเสริมสร้าง ผลบุญดังกล่าวมาแล้ว ก็ไม่น่าจะมีผลเสียอันใดหากเราจะ ปฎิบ้ตีตามหะดีษนั้น ๆ ในแบบเผื่อ ๆ ไว้ว่า อาจจะได้รับ ผลบุญจริง ๆ ก็ได้ -..
นี่คือ เจตนารมณ์ของนักวิชาการที่อนุโลมหรือส่งเสริม ให้ปฏิบัติดามหะดีษเฎาะอีฟในเรื่องฟะฎออีลุ้ล อะอ์มาล, เรื่องดัรฺฆีบและเรื่องตัรฺฆีบได้ แต่ทั้งนี้ จะต้องปฏิบัติตาม เงื่อนไขแห่งข้ออนุโลมเกี่ยวกับเรื่องนี้ให้ครบถ้วนเสียก่อน ซึ่งจะได้อธิบายรายละเอียดกันต่อไป มีฉะนั้น ก็จะกลาย เป็นเรื่องต้องห้ามหรือหะรอมไปทันที ...

ข. การอ้างว่า เรื่องดัลกีนเป็นเรื่องสุนัด, เป็นเรื่องที่ เกี่ยวกับการขอพร ...ก็ไม่ตรงต่อข้อเท็จจริง เพราะเรื่อง “ตัลก็น” นี้ เราไม่อาจจะใช้คำว่า “สุนัด” ได้ตามหลัก วิชาการดังที่ได้อธิบายผ่านพ้นมาแล้ว, และ'ใน'หะติษ “ดัลก็น” ของท่านอบี อุมามะฮ์ ร.ฎ.ก็ไม,ใช่เป็นเรื่องการขอพร และ ไม่มีวรรคใดที่ใข้ให้เราขอพร แต่เป็นเรื่องของการ “สอน” หรือแนะน่าผู้ตายให้ร้วิธิตอบคำถามของมลาอีกะฮ์ต่างหาก ไม่เชื่อก็เป็ดกลับไปดูได้, การอ่านตัลก็นจึงเป็นคนละเรื่อง กับการอ่านดุอาอีสติคฟารฺ และตุอาดัษบีต อันเป็นหะดีษที่ เศาะเหียะห์ (แต่ไม่ค่อยมีใครชอบปฏิบัติกัน)...

ค. การปฏิบัตตามหะดิษ เกาะอีฟในเรืองฟะฏอิลุลอะห์มาลนี นักวิชาการหะดิษมีทัศนะขัดยั้งกันอยู่มาก แม้ว่าท่านอีหม่ามนะวะวีย์จะอ้างว่า เป็นการเห็ฯพ้องต้องกันของนักวิชาการก็ตาม ท่านญะมาลุดดีน อัลกอซิมีย์ ได้กล่าวไว้ในหนังสือ”เกาะวาอิดุต ตะห์ดีส” ว่า .........
“لِيُعلَمْ أَ نَّ لْمَذَا هِبَ فِالضَّعِيفِ ثَلاَ ثَةٌ: الا وَّلُ لَا يُعْلَمُ بِهِ مُطْلقًا ، لاَفِى الأَحْكَمِ وَلاَ فِى الْفَضَا ئِلَ. حَكَاهُ ابْنُ سَيِّدِالنَّا سِ فِيْ عُيُوْنِ الأَ ثَرِ' عَنْ يَحْيَ بْنِ مُعِيْنٍ وَنَسَبَهُ فِىْ فَتْحُ الْمُغُيْثِ لِأَبِىْ بَكْرِبْنِ العَرَبِىِّ وَالظَّاهِرُأَنَّ مْذْ هَبَ ا لبُخَارِىِّ وَمُسّلِمٍ ذَلِكَ أَ يْضًا..... وَهَذَامَذْ هَبُ ابْنِ حَزْمٍ رَحِمَهُاللّهُ أَ يْضًا “
“ พึงทราบเถิดว่า ทัศนะของนักวิชาการเกียวกับเรืองหะดิษเฏะอีฟนี้ มีอยู่3 ทัศนะ คือ หนึ่งห้ามนำหะดิษอ่อนหุกุมหรือเรื่องฟะฏออิลุล อะอ์มาลก็ตาม ท่านอิบนุ ซัยยิดินนาซ ได้กล่าวทัศนะนี้ไว้ในหนังสือ “อุยุลุลอะษัร” โดยรายงานมาจากท่านยะห์ยา บิน มุอีน, แต่ในหนังสือ “ฟัตหุ้ล มฆีษอ่างว่าเป็นทัศนะของท่านอบู บักร อินุลอะเราะบีย์ , ตามรุปการนั้น ทัศนะของท่านบุคอรีย์ และท่านมุสลิม ก็เป็นอย่างนี้และทีศนะของท่านอิบนุ หัสซ์มิน ก็เป็นอย่างนี้เช่นกัน” (ดู เกาะวาอิคุต ตะห์ดิษ หน้า 113)
แม้กระทั้งท่านอิบนุ หะฐัร อัลอัสเกาะลานีย์เอง ก็มีแนวโน้มว่า ท่านจะไม่อนุมั้ติให้นำหะดิษเฏาะอีฟมาใช้นการฟะฏอิลุลอะมาลเหมือนกัน เรพาะท่านได้กล่าวไว้ในหนังสือ “ตับยีนุล อ”บ"หน้า 3-4 ว่า..............
“وَلَا فَرْقَ فِى العَمَلِ باِلْحَدِ يْثِ فِىْ الْا ءَحْكاَمِ أَوْفِى الفَضَائِلِ ،
إِذِالْكُلُّ شَرْعٌ “
และไม่มีนข้อแตกต่างในเรืองการนำหะดิษมาปฏิบัติ ว่าจะเป็ฯเรืองหุกุม หรือเรืองฟะฏออิลุล อะห์มาล เพราะ ทั้งหมดนั้นก็เป็ฯบัญญัติของศานาเหมอืนกัน”
(ดุ ตะมามุ้น มินนะฮ์ หน้าที่ 36)

และผุ้ที่จะได้รับการอนุโลมให้นำหะดิษเฏาะอีฟมาใช้ในฟะฏอิลุล อะห์มาลได้นั้นท่านกได้กำหนดเงือนไขเอาไว้หลายประการด้วยกัน ........
ท่านญะมาลุดดีน อัลกอซิมีย์ ได้กล่าวใน “เกาะวาอิดุต ตะห์ดิษ”ว่า....
وَذَكَرَ الْحَا فِظُ ابْنَ حَخَرٍلَهُ ثَلاَ ثَةَ شُرُوْطٍ : أَحَدُهَاأَ نْ يَّكُوْنَ الضَّعْفُ غَيْرَشَدِيدٍ........... اَلثَّانِىْ : أَ ن يَّنْدَرِجَ تَحْتَ أَ صْلٍ مَعْمُوْ لٍ بِهِ ' اَلثَّالِثُ: أَن لّاَ يَعْتَقِدُعِنْدَالْعَمَلِ بِهِ ثُبُوْ تَهُ، بَلْ يعْتَقِدُاْلإِ حْتِيَاطَ
“ท่านอบนุ หะญัร ได้กำหนดเงื่อนไขไว้ (สำหรับผุ้ที่จะนำเอาหะดิษเฏาะอีฟมาปฏิบัติในฟะฏออิลุล อะมาล) สามประการคือ หนึ่งหะดิษดังกล่าวนั้น จะต้องไม่อ่อนจนเกินไป...........สอง เนื้อหา ของหะดิษจะต้องอยู่ภายใต้พื้นฐานของสิ่งที่มีอยู่แล้ว (ตามหลักการ) และ สาม ผู้ปฏิบั้ติจะต้องไม่ยึดมั่นขณะปฏิบัติว่า หะดิษดังกล่าวนั้นเป็นหะดิษที่แน่นอน (ถูกต้อง) ทว่า, ให้ยึดมัน่ว่า ปฏิบัติเป็นการเผื่อๆไว้เท่านัน”
(ดู เกาะวาอิดุตตะดิษ หน้าที่ 116)

ซึ่งในเงือนไขข้อที่สองนี้ ก็มีอีกสนำวนหนี่งท่านอลีย์อัล กอรีย์ ได้กว่าวไว้คล้ายๆจะเป็นการอธิบายให้ชัดเจนยิ่งขึ้น คือ...........
إِنَّ الحَدِيْثَ الضَّعِيْفِ يُعْمَلُ بِهِ فِىِ الفَضَا ئِلِ ـ ـ ـ مَحَلُّهُ ائِلُ الثّابِتُ مِنْ كِتَابٍ أَوْ سُنَّةِ
“แท้จริง หะดิษ เฏาะอีฟนั้น จะนำมาปฏิบัติในฟะฏออิลุลอะห์มาลได้ หมายถึงในกรณีย์ที่ ฟะฏออิลุล อะห์มาลนั้นเป็นสิ่งที่มีหลักฐานแน่นอนมาจากกุรอ่าน หรือ ซุนะห์แล้วเท่านั้น...(ดู อัลมิรุกอ เล่มที่ 2 หน้าที 381) และเงือนไขอีกข้อหนึ่งซึ่งมีระบุไว้ในหนังสือ “อิห์กามุล อะกาม” มีข้อความว่า”..
.. مَاكَانَ ضَعِيْفًالَايدْخُلُفِىْ حَيِّزِالْمَوْضُوْعِ فَإِنْأَحْدَثَ شِعَارًافِى الدِّيْنِ مُتِعَ مِنْهُ وَإِنْ لَمْ
يُحْدِثْ فَهُوَمَحَلُّ النّْظَرِ
“หะดิษเฏาะอีฟที่ไม่ถึงขั้นเป็นหะดิษเก๊นั้นถ้าหากว่า(การนำมาปฏิบั้ติแล้ว) จะทำให้เกิดประเพณีหรือสัญลักษณ์ใด ๆ ในศาสนาขึ้นก็ห้ามนำมาปฏิบัติ แต่ถ้าไม่ทำให้สิ่งดังกล่าวก็เป็นสิ่งที่จะต้องพิจารณากันต่อไป””.....
(ดุอี้ห์กามุล อะห์กาม” เล่มที่1 หน้ที่ 210)
สรุปแล้ว เงือนไขในการที่จะนำเอาหะดิษเฏาะอีฟมาไช้ในฟะฏออิลุลอะมาน มีอยู่ 4 ประการด้วยกัน และใช้ในฟะฏออิลุล อะมาลนันมี 4 ประการด่วยกัน และจะต้องปฏิบัติให้ครบทั้งสี่ประการด้วย, หากขาดไปประการหนึ่งประการใดก็ถือว่า ใช้ไม่ได้ และเมือ่เรานำเอาหะดิษ “ตัลกีน” ของท่าน อบี มุมามะฮ รฏ. มิวเครมะห์ดูกับเงือนไขทั้ง4ประการนี้ ก็จะได้ผลลัพออกมาดั่งนี้ ...
เงือนไขข้อที่ 1 หะดิษบทนั้น จะต้องไม่อ่อนจนเกินไป จนถึงขั้นหะดีษเก๊ หรือมืผู้รายงานบางคนที่ถูกกล่าวหาว่า ชอบพูดเท็จ จากเงื่อนไขข้อแรกนี้ หะดีษตัลกีนดังกล่าว ถ้าไม่ถูกติดดิสเบรกตรง ๆ ก็เฉียด ๆ ไป เพราะอย่างน้อย นักวิชาการหะติษบางคนก็วิจารณ์ว่า หะดีษบทนี้เป็นหะดีษ เก๊, และตัวผู้รายงานบางคนก็ดูกวิจารณ์ว่า “เป็นผู้ที่ชอบ ปลอมหะดีษ” .1.
& เงื่อนไขข้อที่สอง เนื้อหาของหะดีษดังกล่าว จะต้องมี หลักฐานที่ถกต้องจากหะดีษบทอี่น หรือจากอัล กุรฺอาน มารองรับ เงื่อนไขข้อนี้หากไม่ได้อีกจากหะดีษดัลกีนของ ท่านอบี อุมามะฮ์ ร.ฎ.- เพราะไม่ปรากฎมีหะดีษที่ถูกต้อง บทใด หรืออัล กุรฺอานอายะฮ์ใดที่จะส่งเสริมให้เรากล่าว สอนผู้ตายอย่างนั้น หรือกล่าวว่า เมื่อเราอ่านตัลก็นแล้ว มลาอีกะฮ์ด่างก็ฉวยมือกันเดินหนี ฯลฯ ...
^ เงื่อนไขข้อที่สาม ไห้ยึดมั่นว่า เป็นการปฎิบ้ติเมื่อ ๆ ไว้ เท่านั้น ห้ามยึดมั่นว่าหะติษดังกล่าวเป็นหะดีษที่แน่นอน ซึ่ง เมื่อปฎิบัติลงไปแล้ว ก็จะไต้รับผลจริงตามนั้น, เงื่อนไขข้อนี้ ก็เช่นเดียวกัน เพราะผู้ที่ส่งเสริมให้มีการอ่านตัลกีนทุกคน ไม่เคยกล่าวแนะนำไว้เลยว่า ให้ทำเผื่อ ๆ ไว้เท่านั้น อย่าถือ เป็นเรืองจริงจัง แต่กลับกล่าวส่งเสริมว่า การอ่านตัลกีน เป็นสุนัด คืออ่านแล้วได้บุญ ด้วยเหตุนี้ ชาวบ้านทั้งหลายจึง เอาจริงเอาจังกันมากกับเรื่องตัลกิน เพราะมีความเชื่อมันว่า อ่านแล้วได้บุญและผู้ตายที่อยู่ในหลุมก็ได้รับประโยชน์จริง การกระทำในลักษณะนี้จึงเป็นการขัดแย้งกับเงื่อนไขข้อนี้ อย่างขัดแจ้ง
เงื่อนไขข้อที่สิ่ การปฏิบัติตามหะติษเฎาะอีฟนั้น จะต้อง ไม่ทำให้เกิดเป็นประเพณีใด ๆ ในคาสนาขึ้น เพราะหาก ปฎิบ้ติแล้วทำ'ให้เกิดมีสิ่งดังกล่าว ก็เป็นสิ่งต้องห้าม เงื่อนไข ข้อนี้เป็นสิ่งที่เห็นได้อย่างแจ่มแจ้งเลยว่า การอ่านตัลกีน อย่างที่ปฏิบัติกันอยู่ในทุกวันนี้ ทำให้เกิดมีรูปแบบและประเพณี ซึ่งแม้แต่คนต่างศาสนาเมื่อมาเห็นเข้า ก็จะต้องเข้าใจว่า การสอนผู้ดายที่หลุมฝังศพเป็นบัญญ้ติและคำสอนของอิสลาม, เขาไม่มีทางจะเข้าใจอย่างอื่นไปได้ เพราะเมื่อไรก็เมื่อนั้น มีคนตายทีไรเป็นต้องมีคนนั้งสอนกันทุกทีจนกลายเป็น ประเพณีไปแล้ว ...
ในทัศนะส่วนตัวของผู้เขียน ยังมองไม่เห็นลู่ทางเลยว่า หากเราจะปฏิบัติและยึดถือกฎเกณฑ์กันอย่างจริง ๆ แล้ว จะอ้างเอาหะดีษตัลกินของท่านอบี อุมามะฮํร.ฎ.มาปฏิบัติ ในลักษณะฟะฎออิลุ้ล อะอ์มาลกันได้อย่างไร ซึ่งท่านผู้อ่าน ที่มีใจเป็นธรรมทุกท่านก็คงจะเห็นข้อเท็จจริงดามที่อธิบาย ไปแล้วว่าอะไรเป็นอะไร จึงไม,จำเป็นจะต้องพูดอะไรให้ยืดยาวเกี่ยวกับข้ออ้างเรื่องฟะฎออิลุ้ล อะอ์มาลต่อไปอีก





อ่านตัลกีลให้กับผุ้ตาย สุนนะใคร (ตอนที่ 5)



โดยอ. ปราโมทย์ ศรีอุทัย 

6. ในหน้า 164 มีข้อความว่า ...“สายรายงานของ หะดีษบทนี้ มีผู้รายงานท่านหนึ่งซื่อ “อาเศ็ม บิน อับดุลลอฮ์” ชื่งอิบนุคุชัยมะฮ์กล่าวว่า อาเศ็มนี้มีความจดจำไม่ค่อยดี แต่ ท่านอะญาลีย์กล่าวว่า อาเศ็มผู้นี้ หะดีษที่ท่านรายงานนั้น เซื่อถือได้” (ดูมีซาน้ลเอี๊ยะติดาล) แต่งโดยซะฮ์บิย์ เล่มที่ 2 หน้า 354 ...
ขอชี้แจงว่า อฺาเศ็ม (ท่านผู้เขียนเรียกว่า อาเศ็ม) ที่ ท่านอิบนุคุชัยมะฮ์และท่านอะญาลีย์ได้กล่าววิจารณ์ และ ท่านซะฮะบิย์ได้บันทึกลงไว้ใน “มีชาน้ลเอียะติดาล เล่มที่ 2 หน้า 353 - 354 นั้น คือท่าน “อุาศิม บิน อุบัยดิลลาฮ์ บิน อุาศิม บินอุมัรฺ อิบนุลค็อฎฎอบ ร.ฎ.” เป็นคนละคนกับ “อาศิม บิน อับตุลลอฮ์” ที่เป็นผู้หนึ่งในสายรายงานหะดีษ ตัลก็นของท่านอัฏ ฎ็อบรอนีย์ และอุาค็ม บิน อับดุลลอฮ์ผู้นี้
ไม่เคยมีการบันทึกประวัติไว้ในตำรา “ริญาลุล หะดีษ” เล่มใด จึงถือว่า “เป็นมัจญฮูล” คือ ไม่เป็นที่รู้จัก 1..

7. มีกล่าวในหน้า 165 ว่า “ณ ที่นี้ แสดงให้เห็นว่า ที่ว่า “ฎออีฟ” นั้น หาใช่ตัวบทหะดีษ หากแต่เป็นอาเค็ม ผู้รายงานหะดีษ”...และในหน้า 169 ก็มีข้อความ'ว่า ...“เพราะ หะดีษฎออีฟนั้น โดยความเป็นจริงแล้วก็เป็นหะดีษที่มาจาก ท่านนะบี แด,ผู้รายงานเป็นผู้ที่ขาดคุณศมบีดีตังได้กล่าวแล้ว” -..
คำพูดตังกล่าวของท่านผู้เขียนหนังสือ “มัสอะละฮ์ อูกามา” ตอนนี้ เป็นคำพูดที่แปลกมาก และเป็นตำพูดที่ ปฏิเสธต่อหลักการของวิชาหะดีษโดยสิ้นเชิง, เพราะสิ่งที่ นักวิชาการหะดีษทุกท่านได้ยอมรับกันเป็นเอกฉันท์ก็คือ “หากหะดีษบทใดเป็นหะดีษที่มาจากท่านนะบีอย่างแท้จริง แล้ว หะดีษบทนั้นถือว่าเป็นหะดีษ “เศาะเหี้ยะห์” หรือ ถูกต้อง, หรืออย่างน้อย ๆ ที่สุดก็ถือว่าเป็นหะดีษ “หะสัน” คือหะดีษที่สวยงาม ซึ่งหะดีษทั้งสองลักษณะที่กล่าวมานี้ ย่อมจะนำมาอ้างเป็นหลักฐานของศาสนาได้ในทันที ไม่ว่า จะเป็นเรื่องหุกุมหรือเรื่องอึ่น ๆ ...

ส่วนหะดีษฎออีฟ เป็นหะดีษที่ให้ความมั่นใจน้อยมาก ว่าจะเป็นคำพูดของท่านนะบีอย่างแท้จริง เพราะการขาด คุณสมบัตของผู้รายงานตามหลักวิชาการ อาทึเช่น ผู้รายงาน
บางคนความจำไม่ค่อยดีหรือความจำเสื่อม (ชัยยิอุล หิฟชุ), หรือเป็นผู้ที่ม่มีใครรู้จักหรือทราบประวัติ (มัจญฮูล), หรือ ใช้ค่าพูดในการรายงานอย่างกำกวมทำให้ผู้ฟังไขว้เขว (ตัค ลีซ), หรืออ้างการรายงานมาจากผู้ที่อยู่คนละยุคสมัยกับ ตัวเองหรือไม,เคยพบปะกันมาก่อน (อิงก็ฎออ์), หรือรายงาน ให้ใปขัดแย้งกับผูอื่นที่ได้รับการเชื่อถือมากกว่า (ชุสูช หรือ อิงการุ) ฯลฯ .1.
หะดีษต่าง ๆ ที่เข้าอยู่ในลักษณะที่กล่าวมานี้ ตามปกติ นักวิชาการหะดีษจะถือว่า จะนำมาอ้างอิงเป็นหลักฐานของ ศาสนาในเรื่องของทุกุมทั้งห้า คือ ฮารุส, สุนัด, วาญิบ, มักโระฮ์ และหะรอมไม่ได้, และจะอ้างอิงเป็นหลักฐานใน เรื่องเศ๊าะห์หรือบะฎ็อล (บะตาย) ก็ไม่ได้ ยกเว้นแต่ว่าหะดีษ ฎออีฟเหล่านั้นจะได้รับการสนับสนุนจากหะดีษบทอื่น (ชา อิด), หรือมีผู้ใดที่รายงานพ้องกันกับผู้ที่รายงานที่ขาดคุณ- สมบัติเหล่านั้น โดยรายงานมาจากเศาะฮาบะฮ์คนเดียวกัน (มุดาบะอฺะฮ์) หะดีษฎออิฟนั้นก็อาจจะยกฐานะตัวเองขึ้นมา จนสามารถอ้างเป็นหลักฐานได้ เรืยกว่าเป็นหะดีษ “หะสัน ลีตัยริฮี” หรือหะดีษที่สวยงามเพราะมีหะดีษกระแสอื่นมา สนับสนุน -..
เหล่านี้ เป็นเรื่องอันละเอียดอ่อนของวิชาการหะดีษ
ที่แม้แต่ผู้เขียนหนังสือดังกล่าวนั้น ก็ย่อมจะทราบและเข้าใจดี หากว่าไม่มีเจตนาจะบิดเบือนความจริง .-.
และหะดีษเรื่องการอ่านดัลกีนที่อ้างว่า ได้มีการรายงาน มาจากท่านอบี อุมามะฮ์ ร.ฎ.นั้น ตามข้อเท็จจริงแล้ว ก็ไม่ อยู่ในข่ายที่จะได้รับการยกเว้นดังกล่าว แม้ว่าจะมีนักวิขาการ ผู้ทรงเกียรติบางท่าน อาทิเช่น ท่านอิหม่ามนะวะวิย์ ได้กล่าว ยกเว้นเอาไว้ก็ตาม ซึ่งจะได้อธิบายรายละเอียดและข้อโต้แย้ง เกี่ยวกับเรื่องนี้ในตอนหลัง ดังนั้น ตามหลักการที่แท้จริงแล้ว เราจะกล่าวว่า “ลุนัดให้อ่านตัลกีน” ไม่ได้, เพราะ “สุนัด” เป็นหนึ่งจากหุกุมทั้งห้า การนำเอาหะดีษฎออีฟมาอ้างอิง เป็นหลักฐานในเรื่องสุนัต จึงเป็นเรื่องต้องห้ามตามทัศนะ ของนักวิชาการ ไมว่ามัสฮับใด ๆ ...
ตามปกติ คำพูดหริอข้ออ้างของนักวิชาการไม่ว่าจะ เป็นท่านใด ผู้ที่มีความเป็นธรรมอยู่ในห้วใจ จะต้องไมรีบ ยึดถือหรือนำมาปฎิบ้ติ เพียงเพราะเห็นว่า มันตรงต่อความ ต้องการของเรา แต่เราควรจะต้องพิจารณาและคำนึงถึงว่า คำพูดดังกล่าวนั้น ถูกต้องตาม “หลักฐาน” หริอตรงต่อ “หลักการ” อันเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปหรือไม่ เพราะ มนุษย์ทุกคนย่อมจะต้องมีการผิดพลาดและพลั้งเผลอด้วยกัน ทั้งนั้น นอกจากท่านรซูลุลลอฮ์ ซ.ล.แต่เพียงผู้เดียวที่ได้รับ
การคุ้มครองจากพระองค์อัลลอฮ์ ช.บ.แล้ว คำพูดใด ๆ ของ ท่านจึงเป็นสิ่งที่เรานำมาปฎิบํตตามและยึดถือได้ทันที หาก เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับศาสนา ...
ท่านซัยยึดันา อะสีย์ ร.ฎ.ได้เคยกล่าวไว้ว่า
“أَنْظُرْإِ لَى ماَقَالَ ، وَلاَ تَنْظُرْ إِلىَ مَنْ قاَلَ”
“จงพิจารณาคำพูดของบุคคล, แต่อย่ายึดถือตัวบุคคล”

8. มีกล่าวในหน้า 170 ว่า “มัสฮับฮันบะลีย์ นำเอา หะดีษฎออีฟมาเป็นหลักฐาน ไม่เพียงแด’เฉพาะในเรื่อง “ฟะ ด่ออิคุ้ลอะม้าล” เท่านั้น หากแต่ในเรื่องอื่น ๆ ด้วย” -..
เรื่องนี้ ท่านผู้เขียนได้เขียนไปโดยไม่ไดศกษาหลักการ เกี่ยวกับเรื่องหะดีษตามแนวทางของท่านหัมบะลีย์ให้เข้าใจ แจ่มแจ้งเสียก่อน เพราะตามแนวทางของท่านหัมบะสีย์นั้น ท่านได้แบ่งหะดีษออกเป็นเพียงสองประเภท คือหะดีษเศาะ เหี้ยะห์ และหะดษเฎ่าะอีฟ, ส่วนที่นิยมแบ่งกันโดยทั่ว ๆ ไป นั้น มักจะแบ่งออกเป็นสามประเภท คือหะดีษเศาะเหี้ยะห์, หะดีษหะสัน และหะดีษเฎาะอีฟ ซึ่งการแบ่งตังกล่าวนี้ เป็น ผลงานของท่านติรฺมีซีย์ ซึ่งต่อมาภายหลังก็ได้สับการยอมรับ กันอย่างกว้างขวาง สำหรับหะดีษเฎาะอีฟตามทัศนะของ
ท่านหัมบะลีย์ ยังแบ่งออกเป็นอีกหลายระดับ หนึ่งจากนั้น ก็คีอหะดีษซึ่งนักวิชาการหะดีษอื่น ๆ ถือว่า เป็นหะดีษหะสัน นั้นเอง ...
พูดให้เข้าใจง่าย ๆ ก็ดีอว่า หะดีษซึ่งผู้อื่นถือว่า เป็น หะดีษ “หะสัน” ท่านหัมบาลีย์กลับถือว่า นั้นคือหะดีษเฎาะอีฟ (แด่อยู่ในระดับหนึ่ง) สำหรับท่าน -..
ดังนั้น คำกล่าวที่ว่า มัสฮับห้มบะลีย์นำเอาหะดีษ “เฎาะอีฟ” มาใช้เป็นหลักฐานข้อเท็จจริงของหะดีษเฎาะอีฟ ในที่นี้ ก็คือหะดีษหะสันของผู้อื่นนั้นเอง ไม่ใช่หะดีษเฎาะอีฟ จริง ๆ อย่างที่ท่านผู้เขียนหนังลือ “มัลอะละฮ์ อูกามา” เข้าใจ -..
(ดูรายละเอียด จาก อัลอิบดาอ์ ฟี มะฏริล อิบติดาอ์ หน้า 142-143


วันพฤหัสบดีที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2560

อ่านตัลกีลให้กับผุ้ตาย สุนนะใคร (ตอนที่ 4)





โดยอ. ปราโมทย์ ศรีอุทัย 


3. ในหน้า 145 มีข้อความตอนหนึ่งว่า “นี่แหละคือ ตัลกีน ซึ่งมีวิธีปฎิบ้ตโดยสรุปก็คือ ใหใครคนหนึ่งจากบรรดา ผู้ที่นำศพเข้ากุโบรฺ อ่านหลังจากได้ทำการฝังเสร็จสิ้นแล้ว โดยให้อ่านเป็นภาษาอรับก็เพียงพอแล้ว” ...
ขอซี้แจงว่า แม้ว่านักวิชาการในมัสฮับซาพีอีย์จะได้นำ ถ้อยคำตัลก็นมาบันทึกไว้ในตำราเป็นภาษาอรับก็จริง แต่ ไม่เคยปรากฏว่า จะมีนักวิชาการท่านใดได้แนะนำหรือวาง เงื่อนไขเอาไว้ว่า จะต้องให้อ่านตัลก็นเป็นภาษาอรับ หาก ผู้ตายเป็นคนเชื้อชาติอื่นที่มีใช่ชาวอรับ, ตรงกันข้าม นัก วิชาการในมัสฮับซาฟิอีย์กลับมีทัศนะว่า การอ่านตัลกีน เป็นภาษาอรับให้แก่ผู้ตายที่พูดภาษาอรับไม่ได้นั้น เป็น เรื่องที่ไม่ถูกต้อง ..
ท่านซัยยิด อบู บักรฺ อัล ชัฏฎอ ได้กล่าวไวิในหนังสือ “อิอฺานะฮ์ฯ” ว่า .-.
وَاعْلَمُ أَنَّ السُّوءَال عَا مٌّ لُِكلِّ مُكَلَّفٍ وَيَكُوْ نُ بِحَسْبِ لُغَتِهِ عَلَ الصَّنحِيْحِ

“พึงทราบเถิดว่า การสอบถาม (ของมลาอิกะฮ์) นั้น ไม่มีการยกเว้นให้แก่มุกัลลัฟคนใด, และการสอบถามดังกล่าว จะไช้ภาษของเขา (มุกัลลัฟที่ตาย) เป็นเกณฑ์ ตามทัฯที่ถูกต้อง(ในมัสฮับชาฟีอีย์)”...
(ดู อิอานะฮ์ ฯ เล่มที่2 หน้าที่ 139)
ท่านอบุบักร อัลชัฏฏอ ยังได้กล่าวอธิบายกฏเกณฑ์ ของมัสฮับชาฟีอีย์ไว้ในหนังสือ “อิอานะฮ” เล่มที่1 หน้าที่ 19 ว่า..
وَأَ مَْا خِلأ فُ الصَْحيْحِ فَا لغَا لِبُ أَنَّهُ يَكُوْ نُ فَا سِدً لاَ يَجُوْ زُالأَ خْذُ بِهِ
“และอนึ่ง (ทัศนะใดๆ) ที่ขัดแย้งกับทัศนที่ถูกต้องตามปกติถือว่า “ทีศนะอันน้นยอ่มใช้ไม่ได้, และไม่อนุมัติให้นำมันมายึดถือหรือปฏิบัติ”
ก็แสดงว่า เมือ่พวกเราที่เป็นชาวไทยและพูดาษไทยได้สิ้นชีวิตลง มลากิก์มุงกัร และนะกีร ท่านก็จะมาถามเราด้วยภาษไทย เพื่อให้เราเข้าใจคำถาม มิฉะนันหากท่านเกิดถามเราเป็นภาษอาหรับแล้วเราตอบไม่ไดเพราะเราฟังภาษาอาหรับไม่รู้เรื่อง ท่านก็ไม่มีสทิธิที่จะมาทุบตีเรา เพราะเป็นการไม่ยุติธรรมต่อเรา นี่คือ ทัศนะที่ถูกต้องเขามัสฮับชาฟีอีย์ , ส่วนความเข้าใจทีว่า มลาอิกะฮ์มาสอบถาม เราเป็นภาษาอรับนั้น ถือว่า เป็นการไม่ถูกต้องและนำมา ยึดถือไม่ไต้ เพราะเป็นความเข้าใจที่ข้ดแย้งกับทัศนะที่ถูกต้อง ดังกล่าวมาแล้ว ดังนั้น ผู้ที่อ่านดัลกีนให้แก่เรา ก็จะต้องอ่าน เป็นภาษาไทยด้วยจึงจะถูก ...
มีอย่างที่ไหน มลาอิกะฮ์ท่านมาสอบถามเราเป็นภาษา ไทย แต่ผู้ที่สอนหรือดัลกีนให้เรากลับสอนเป็นภาษาอรับ เลียนี่?
บางคนอาจจะโต้แย้งว่า พระองค์อัลลอฮ์ ช.บ.ท่านมี ความสามารถที่จะให้เราเข้าใจคำถามที่เป็นภาษาอรับไต้, ไม่เห็นแปลก .-.
ก็ขอดอบว่า เริ่องความสามารถและเดชานุภาพแห่ง พระองค์อัลลอฮ์ ช.บ.นั้น ไม่มีมุสลิมที่มีอิหม่านคนใดสงสัย หรือปฏิเสธหรอก, แต่ที่อยากจะถามก็คีอว่า พระองค์อัลลอฮ์ ซ.บ.ได้เคยมีโองการเป็นการสัญญาไว้เมื่อไร และที่ไหน ว่าท่านจะให้ผู้ตายที่อยุ่ในหลุมฝังศพ ฟังภาษาอารู้เรือง?
4. ในหน้า 160 ท่านก็ได้นำหลักฐานของเรื่องการอ่าน ตัลกีน อันได้แก่หะดีษของท่านอบี อุมามะฮ์ ร.ฎ.มาลงบันทึก ไว้ ซึ่งผู้เขียนก็จะขอคัดลอกมาให้ท่านผู้อ่านไต้รับทราบ ชนิดคำต่อคำ รวมทั้งคำแปลด้วย ดังนี้ ...
عَنْ أََبِىْ أٌماَمَةَ رَضِىَ اللهُ عَنْهُ قَلَ ٠٠إِ ذَا أَنامُتَّ فَاصْنَعٌوْا بِىْ كَمٌ أَمَر نَا رَ سُوْلُ اللّهِ صَلَّ اللّهُ عَلَيْهِ وَسلَّمَ فَقَالَ ٠٠٠ إِذَا مَا تَ أَ حَدٌ مِنْ إِخْوَا نَكٌمْ فَسوَّ يْتُمُ ا لتٌّر اَ بَ عَلَ قَبْرِهِ فَلْيَقٌمْ أَ حَدُ كُمْ عَلَ ر أَسِ قَبْرِهِ ثُمَْ ْليَقُلْ ٠٠
يَا فُلاَ نُ ابْنُ فُلاَ نَةَ ! فَاءِنَّهُ يَسْمَعُهُ وَلاَ يُجِيْبُ *ـــ ـ ثُمَّ يَقُوْلُ يَا فُلَا نُ ابْنُ فُلاَنَةَ فإِنَّهُ يَقُوْلُ أَرْشِدْناَ يَرْ حَمُُكَ اللّهُ وَلَكِنْ لاَ تَشْعُرُوْ نَ ــ ـ ـ فَلْيَقُلْ اُذْكُر ماَ خَرَ جْتَ عَليْهِ مِنَ الدُّ نْيَا شَهَادَةُ أَنْ لاَإِلَهَ إِلاَّ اللهُ وَأَنَّ مُحَمَّدًا عَبْدُ هُ وَرَسُوْلُهُ ' وَأَنَّكَ رَضِيْتَ بِاللَّهِ رَبًّا ' وَبِالْإِ سلاَمِ دِيْنًا وَبِعُحَمَّدٍ نَبِيًّا وَبِا لْقُرْآ نِ إِماَماً ' فَإِنَّ مُنْكَرًا وَنَكِيْرًا يأْ خُذُ كُلَّ وَاحِدٍ مِنْهُمَ بِيَدِ صَاحِبِهِ وَيَقُوْلُ ' إِنْطَلِقْ بِنَامَا يُقْعِدُنا عِنْدَ مَنْ قَدْ لُقِّنَ حُجَّتَهُ' قَالَ فَقالَ رَجُلٌ يَارَسُوْلَاللَّهِ ! فَإِلَمْ يَعْرِفْ أُ مَّهُ ؟ قَالَ: يُنْسِبُهُ إِلَى أُمِّهِ حَوَّاءَ: ياَ فُلَ نُ ابْنُ حَوَّأَ " رَوَاهُا لطَبْرَانِىّ

ความว่า “จากอบี อุมาม์ อัลบฮิลีย์ รอดิยัลฯ กล่าว่า ...เมื่อฉันตาย พวกท่านจงอระทำให้แกฉันเหมือนกับที่ท่านรอซูล(ซล) ทรงใช้พวกรำกแก่คนตายของเรานบีศอลฯ ท่านกล่าวว่า เมื่อใครคนใดจากพวกท่านตาย (หมายถึงมุสลิม) แล้วพวกท่านได้เกลียพื้นดินบนกุโบร นั้นแล้วให้คนหนึงคนใดจากพวกท่านยืนทางแถบหัวกุโบรของผุ้ตาย แล้วให้เขากล่าวว่า (โอ้นาย ก. บตุรของนาง ข. แท้จริงผู้ตายนั้นได้ยินแต่ไม่ตอบอะไร และให้กล่าวต่อไปอีกว่า โอ้นาย ก. บุตรนาง ข. ผู้ตายจะกล่าวว่า จงแนะนำให้เราเถิด “ขอให้ อัลลอฮ์ประทานเราะห์มัตให้แก่ท่าน” แต่พวกท่านไม่รู้และ ไม่ไดยินคำกล่าวของผู้ตาย และให้เขากล่าวต่อไปเลยว่า จง นึกถึงสภาพที่ท่านออกจากโลกดุนยา อันได้แก่การปฏิญาณ ว่า “แท้จริงไม่มีพระเจ้าอิ่นใตนอกจากอัลลอฮ์ และแท้จริง นะบีมุฮัมมัดนั้น เป็นฺบ่าวและเป็นรซูลของอัลลอฮ์” และท่าน ไดยินดีในอัลลอฮ์เป็นพระเจ้า, ในอิสลามเป็นศาสนา, ใน มุฮัมมัดเป็นนะบี, ในกุรฺอานเป็นอิหม่าม ในขณะนั้นมุงกัรฺ และนะกีรฺ ต่างก็จูงมีอกันพลางกล่าวว่า เราไปกันเถิด ไม่มี ประโยชน์อัน'ใดที่เราจะนั่งอยู่กับผู้ที่,ได้รับการบอกคำตอบ อบู อุมามะฮ์กล่าวว่า ศอฮาบะฮ์ท่านหนึ่งได้ถามนะบี ค็อลฯ ว่า โอ้ รซูลุสลอฮ์ หากผู้อ่านตัลก็นไม่รู้จักชื่อแม่ของผู้ตาย จะว่าอย่างไร? ท่านนะบี ค็อลฯ ตอบว่า ก็ให้กล่าวว่า ลูก ของเฮาวาอ์ คือกล่าวว่า โอ้นาย ก. บุตรเฮาวาอ์ รายงานโดยต็อบรอนีย์ในมั้วะญัมอัล - กะบีรฺ ผู้เขียนขอเรียนซี้แจงข้อเท็จจริงของหะดีษบทนี้ ด้งนี้ ..1 ท่านกอฏิย์ อัลค็อลอิย์ ได้บันทึกหะดีษนี้ไว้ในหนังสือ “อัล ฟะวาอิด” ของท่าน หน้า 55 โดยรายงานมาจากอบี อัดด้รฺดา (มีชึ๋อจริงว่า ฮาชิม บีน มุหัมมัด อัล อันคอริย์), จากอุตบะฮ์ อิบนุลศะกัน, จากอบี สะกะริยา, จากญาบีรฺ บินสะอีด อัลอัสดีย์, จากท่านอบี อุมามะฮ์ อัลบฮิลีย์ รฏ...
ในสายรายงานดังกล่าว ท่านอัลบานีย์ได้กล่าววิ่จารณืไว้ว่า .......

" قُلْتُ: وَهَذَا اِسْنَادٌ ضَعِيْفٌ خِدًّ ، لَمْ أَعْرِفْ أَ حَدًا مِنْهُمْ غَيْرَ عُتْبَةَ بْْنِ اسَّكَنِ، قَالَ الدَّارُ قُطْنِىُّ : "مَتْرُوْكُ الْحَدِيْثِ، وَقَالً البَيْهَقِىُّ: ،وَاهٍ منْسُوْبٌ إِلىَ الوَضْعِ

“ฉันนขอก่ลาวว่า.... นี้เป็นสายรายงานที่อ่อนมาก, ฉันไม่เคยทราบประวั้ติของพวกเขาแม้แต่คนเดียว นอกจากอุตบะฮ์ อิบนุสสะกัน ซึ่งท่านอัดดารุ กุฏนีย์ ได้กล่าววิจารย์ว่าเป็น ”ผู้ที่ถูกเมินจากฮาดิษของเขา” และท่านอัลบัยหะกีย์ก็ได้กล่าว่า “เขา(อุตบ๊ะ) อ่อนมาก, ถูกนับว่าเป็นผู้ที่ชอบปลอมหะดิษรายหนี่ง” (ดู อัฏ เฏาะอีฟะห์ฯ ของท่านอัลบานีย์ เล่มที่2 หน้าที่ 64)
นอกจากนี้ท่านอัฏฏอบรอนีย์ ก็ได้บันทึกหะดิษบทนี้ไว้ใน “อัลมุอญัม อัลกะบีร” ของท่าน โดยสืบสายรายางาน ไปจนถึงท่าน “สะอีด บินอับดุลลาฮ อัลอัสดีย์, จากท่านอบี อุมาม๊ะ อัลบาฮิลีย์ รฏ เช่นเดียวกัน ซึ่งในสายรายงานกระแสนี้ ท่านอัลฮัยสะมีย์ได้กล่าววิจารย์ว่า ....

"رَوَاهُ ا لطَّبْرَا نِىُّ فِىْ " الْكََبِيْرَ "وَفِىْ إِسْنَا دِهِ جَمَاةٌ لَمْ أَعْرفْهُمْ "
“ท่านฏัฏ ฏอบรอนีย์ได้รายงานหะดิษนี้ไว้ใน “มุอญัมอัลกะบีร” และในสายรายงานของมัน มีอยู่กลุ่มหนึ่งที่ฉันไม่ทราบว่าเป็นใคร”
(ดู มัจญมะอ์ อัส สะวาอิด ของฮัยสะมีย์ เล่มที่ 3 หน้าที่ 45)
ทีน่าสังเกต อีกอย่างก็คือ ชื่อของผุ้ที่รายงานหะดิษนี้มาจากท่านอบี มุมามะฮ์ รฏ. ก็ยังสับสน เพราะในบันทึกของท่านอัลค๊อลอีย์ระบุช่อว่า “ญาบีร บินสีอด อัลอัสดีย์ แต่ในบันทึกของท่านอัฏฏอบรอนีย์ กลับระบุชื่อว่า “สะอีดบินอับดุลลฮ์ อัลอัสดีย์” แต่ท่านอบี หาติมได้ระบุชื่อไว้ในหนังสือบันทึกประวัติผู้รายงานหะดิษว่า “สะอีด อัลอัสดีย์” เสร้จแล้วท่านก็ทำเฉย คือไม่มีการวิจารณ์ว่าดีหรือไม่ดีแต่อย่างใด...
(ดูอัตตัลคส ของท่านอิบนุหะญัร เล่มที่2 หน้าที่143)
การกล่าวถึงบุคคลใด โดยไม่มีการวิจารณ์ประวัด แบบนี้ ดามหลักวิชาการหะดีษถึอว่า บุคคลผู้นั้น เป็น “มัจฮูล” คือ ไม่มีใครรู้จักหรือทราบประวิติ และหะดีษใด ๆ ที่รายงาน มาจากบุคคลประเภทนี้ ถือว่า เป็นหะดีษที่อ่อน -..
สรุปแล้ว ผู้รายงานหะดีษเกี่ยวกับเรื่องการตัลกีนจาก ท่านอบี อุมามะฮ์ ร.ฎ.ทั้งสองกระแส, ไม่ว่าจะเป็นกระแส ของท่านอัล คือลอีย์ หรือกระแสของท่านอัฏ ฎ็อบรอนีย์ ไม่ปรากฎว่าจะมีผู้ใดได้รับการเชื่อถือจากนักวิชาการหะดีษ แม้แด'คนเดียว ทว่า ล้วนแล้วแต่เป็น “อัล มะญาฮีล” คือ เป็นกลุ่มชนที่ไม่มีใครรู้จักหรือทราบประวัดแทบทุกคน และยิ่งไปกว่านั้น บางคนยังได้รับการวิจารณ์ว่า “ถูกนับ ว่า เป็นผู้ที่ชอบปลอมหะดีษรายหนึ่ง” อย่างที่ได้อธิบาย ผ่านพ้นมาแล้ว -..
ดังนั้น การกล่าวของท่านอิบนุ หะญัร อัลอัสเกาะลานีย์ ในหนังสือ “อัด ดัลคืส” ถึงสายรายงานหะดีษของท่านอบี อุมามะฮ์ ร.ฎ.ในกระแสของท่านอัฏ ฎ็อบรอนีย์ว่า “สาย รายงานของมัน ดี” นั้น จึงรับฟังไม่ขึ้น เพราะเป็นการ ขัดแย้งกับกฎเกณฑ์ของวิชาการอัล หะดีษอย่างขัดแจ้ง .-.
ท่านอัลบานีย์ได้กล่าวติงคำพูดของท่านอินุ หะญัรว่า...

"قَأَنَّى لهَزَآلإ سْناَدِ ا لصَّلاَ حُ وَاْ لقُوَّةُ وَفِيِهِ هَذَآلرَّجُلُ اْلجَهُوْلُ "
“ จะเป้นไปได้อย่างไรทีว่า สายรายงานของมันดี และแข็งแรง ในเมื่ในสายรายงานนั้นมีระบุชื่อของบุคคลที่ไม่มีใครรุ้จักผู้นี้ ? (หมายถึง “สะอีด อัลอัสดีย์” ที่ได้วิจารณผ่านมาแล้ว)
(ดู อัฏเฏาะอีฟะห์ เล่มที่2 หน้าที่ 65)
แถมผุ้รายงานคนอื่นๆ ก็ตกอยุ่ในลักษณะเดียวกันคือ “มัจฮุล “ ดังการวิจารณของท่านอัล ฮัยสะมีย์ ที่ผ่านมาแล้วเช่นเดียวกัน...
โดยนัยนี้ หะดิษเรือ่งการอ่าน “ตัลกีน” ที่บุคคนเหล่านี้ได้อางว่า รับฟังมาจากท่านอบี อุมามะ รฏ. จึงนำมาทำเป็นหลักฐานไม่ได้ เพราะถือว่าเป็นหะดิษที่อ่อนมาก จนกระทั่งท่านอัลบานีย์กล่าวว่า “เป็นหะดิษมุงกัร หรือหะดิษ ที่ถูกค้าน” ท่านเจ้าของหนังสือ “อัลมะนาร” กล่าว่า”เป็นหะดิษเก๊” ดังจะได้กล่าวต่อไป....
5. ในหน้า 162 มีข้อความว่า...“สำหรับผู้รายงาน หะดีษบทนี้ ก็คือท่านอิหม่ามติรฺมีซีย์ นักรายงานหะดีษที่ รู้จักกันดี”
ข้อความตอนนี้ น่าจะเป็นการพลั้งเผลอมากกว่าการ เจตนา เพราะท่านติรฺมีซีย์ไม่เคยรายงานหะดีษเรื่องการ อ่านตัลก็นเหล่านี้แม้แต่บทเดียว ผู้ที่รายงานก็คือ ท่านอัฏ ฎ็อบรอนีย์อย่างที่ทราบกันดีอยู่แล้ว ...



อ่านตัลกีลให้กับผุ้ตาย สุนนะใคร (ตอนที่ 3 )



โดยอ. ปราโมทย์ ศรีอุทัย 


และต่อไปนี้ จะเป็นการขึ้แจงข้อเท็จจริงของปัญหาเรื่อง “ตัลกีน” 'จากหนังสือฉบับที่เป็นภาษาไทย ภายใด้ขึ้อหนังสือ ว่า “ข้อโด้แยังปัญหาคาสนา” เล่มที่ 1 -..
1. มีกล่าวในหน้า 127 ว่า “ปวงปราชญ์มัสอับชาหิเอีย์, อบูฮะนิฟะฮ์, อิบนุอัมบัล และมาลิกีย์ ต่างก็ฟ้'ตวากันว่า การตัลกีนนั้นเป็นสุนัด เป็นประโยชน์แก่ผู้ตายในกุบูรุ” .1.
ขอตอบว่า นี้เป็นการอ้างเอาเองที่ข้ดแย้งต่อข้อเท็จจริง
เพื่อต้องการจะตบตาผู้อ่านที่ใม่มิความรู้ในเรื่องศาสนา เพราะตามความเป็นจริงนั้น มัสฮับชาฟิอีย์ (มิใช่ตัวท่าน อิหม่ามซาฟีอีย์) เพียงมัสฮับเดียวทีมิการฟัดวาว่า การอ่าน ตัลกีนเป็นสุนัต, ส่วนมัสฮับอิ่น ๆ อาทิเช่น มัสฮับมาลิกีย์ ถือว่าการอ่านตัลกีนเป็นเรื่องที่น่ารังเกียจ, มัสฮับหะนฝีย์ ถือว่า ฮารุศ คือจะอ่านกีได้ ไม่อ่านก็ได้ ส่วนมัสฮับอัมบาลีย์ ไม่ปรากฎทัศนะที่แน่ชัดเกี่ยวกับเรื่องนี้ แต่จากคำพูดของ ท่านฮัมบาลีเองส่อให้เห็นว่าการอ่านตัลกีนนั้น ไม่มิหลักฐาน ที่ถูกต้องจากซุนนะฮ์ -..
(ดู อัล อิบดาอ์ ฟิมะฏอร อัลอิบติดาอ์ หน้า 248-249)
2. มิกล่าวในหน้า 133 ว่า “และมีสุนัดให้อ่าน “ยาซีน” แก่คนที่ใกล้จะตาย เพื่อวิญญาณจะได้ออกจากร่างได้ง่าย” -..
ขอตอบว่า หะดีษเกี่ยวก้บเริองการอ่านยาชีนให้แก'คน ที่ใกล้จะตายเป็นหะดีษอ่อน หริอฎออิฟ ซึ่งหะดีษตังกล่าวมี ข้อความว่า .-.

إِ قْرَوءُ وْا ~يس عَلَا مَوْ تا كُمْ

“จงอ่าน ยาซีนให้แก่พวกท่านที่ไกล้ตาย”
(ดู อบูดาวูด หะดิษที่ 3105 , อิบนุอบีชัยบ๊ะ เล่มที่ 4 หน้าที 74 ฉบับพิมพ์ที่ประเทศอินเดีย, อิบนุมาญะ หะดิษที่ 1448, อัลหากิม เล่มที่ 1 หน้าที่ 565 ,อัลบัยหะกี เล่มที่ 3 หน้าที่ 383, อัฏ เฏาะยาลีซีย์ หะดิษที่ 931, อะหมัด เล่มที่ 5 หน้าที่ 26,27)

หะดีษบทนี้ มีข้อบกพร่องอยู่ 2 ประการคือ 1..
1. การรายงานสับสน (อิฏฎิรอบ) เพราะรายงานบาง กระแสกล่าวว่า “จากอบี อุษมาน, จากบิดาของเขา, จาก ท่านมะอ์กิล บินยะชารฺ ร.ฎ.” แต่บางกระแสกล่าวว่า “จาก อบิ อุษมาน, จากมะอ์กิล บินยะซารุ” โดยไม่มีการระบุว่า “จากบิดาของเขา” อย่างกระแสแรก

2. อบิ อุษมานและบิดาของเขา, ทั้งสองคนนี้เป็น ผู้ที่ไม่มีการบันทึกประว้ติ ไว้ในตำราเกี่ยวกับรายนามของ ผู้รายงานหะดีษเล่มใด หรือที่เรียกตามศัพท์วิซาการว่า “มัจญฮูล” ...(ดู อิรวอุล ฆอลีล เล่มที่3 หน้าที่ 151) ด้วยเหตุนี้ ท่านอิบนุล ก็อฎฎอน จึงได้กล่าวไว้โน “อัด ตัลคีส” ของท่าน หน้า 153 ว่า...

وَ نَفَقَلاَ أَ بٌوْبَكْرِ بْنُ اْلعَرَ بِيِّ عَنِ الدَّا رُ قُطْنِيّ أَ نَّهُ قَلَ . . هَزَا حَدِ يثٌ ضَعِيْفٌ الْاءِ َسنَادِ
مَجْهُوْ لُ اْلَمْتنِ , وَ لَا يَصِحٌ فِى اْلبِا بِ حَدِ يثٌ

“ท่านอบู บักรฺ อิบนุลอะเราะปีย์ได้คัดลอกคำพูดมา จากท่านอัดดารุ กุฎนีย์-ว่า “นี่ เป็นหะดีษ ซึ่งการรายงาน ชองมันบกพร่อง, ตัวบทของมันก็ไม่ค่อยชัดเจน และหะดีษ ที่เกี่ยวกับเรื่องนี้ ไม่มีถูกต้องเลยแม้แต่บทเดียว”
อีกสำนวนหนึ่งของหะดีษนี้ ซึ่งท่านอบู นะอีม ได้ บันทึกไว้ใน “อัคบารฺ อัศฺบิฮาน” เล่มที่ 1 หน้า 188 โดย รายงานมาจากท่านอปี ตัรฺดา, จากท่านรซลุลลอฮ์ ช.ล. มีข้อความว่า .

مَا مِنْ َميِّتٍ يَمُوْ تُ فَيُقْر أُ هُ٠٠~يس٠٠ إِلَّ هَوَّ نَ اللهُ عَلَيْهِ

“ไม่มีผู้ตายคนใดที่ตอนเมื่อเขาจะตาย ได้มีการอ่าน “ยาซีน” ให้แก่เขา เว้นไว้แต่ว่า พระองค์อัลลอฮฺ ช.บ.จะ ใหวิญญานออกจากร่างเขาอย่างง่ายดาย”
ปรากฏว่า หะดีษบทนี้ก็เป็นหะดีษที่อ่อนมากเช่นเดียว กัน เพราะในสายรายงานของมันมีซึ่อของ “มัร-วาน บิน ซาลิม อัลคิฟารีย์ “ ซึ่งท่านอะห์มัดและท่านนซาอีย์กล่าว วิจารณ์ว่า “เป็นผู้ที่ไม่มีความหมาย”,ท่านอิบนุ หะญัรุ อัลอัสเกาะลานีย์ กล่าวว่า “เป็นผู้ที่ถูกเมิน” (มัดรูก), ท่าน อัสชาญีย์และท่านอบู อฺะรูบะฮ์กล่าวว่า “เขาเป็นผู้ที่ชอบ ปลอมหะดีษ”
(ดู อัตตักรีบ เล่มที่2 หน้า239 ,อัฏฏอะฟาอ์ วัลตัตรูกีน ของนซาอีย์ หน้า 255, มีซนุล เอียะติดาล”เล่มที่4 หน้าที่90, อิรวาอุลฆอลีล” เล่ม3 หน้า 153)
สรุปแล้ว การอ่านยาชีนให้แก่ผู้ที่ใกล้จะตายอย่างที่ นิยมปฎิบัติกันอยู่นั้น เป็นสิ่งที่ไม่มีหลักฐานที่ถูกต้องแม้แต่ บทเดียวมายืนยันไว้ ส่วนหะดีษที่มีรายงานมาเกี่ยวกับเรื่องนี้ ก็ล้วนแล้วแต่เป็นหะดีษที่อ่อนมากอย่างที่ใต้กล่าว'วิจารณ์มา แล้ว, ด้วยเหตุนี้ ท่านอัลบานิย์จึงได้กล่าวเอาไว้ว่า “การ อ่านยาชีนให้แก่ผู้ที่ใกล้จะตาย เป็นบิดอฺะฮ์”(ดู อะห์กามุล ญะนาอิซ ” หน้า 243)
หลักฐานที่ถูกต้องเกี่ยวกับการสอนผู้ที่ใกล้จะตายนั้น ดีอสอนให้เขากล่าวว่า “ลาอิลา ฮะอิลลัลลอฮ์” เพราะมี หะดีษซึ่งรายงานมาจากการบันทึกของท่านมุสลิม, อบู ดาวูด, ดิรุมีชีย์, ฯลฯ ซึ่งผู้เขียนไมจำเป็นจะต้องนำมาลง บันทึกไว้ในที่นี้อีก เพราะเป็นเรื่องที่รู้และยอมรับกันอย่าง แพร่หลายทั่วไปอยู่แล้ว.....