โดย .อ. ปราโมทย์ ศรีอุทัย
ความหมายของคำว่า “ดัลกีน” ตามรูปแบบที่นิยม ปฎิบ้ติกัน หมายถึงการแนะนำหรือสอนผู้ตายที่อยู่ในหลุม ให้กล่าวคำปฏิญาณว่า “ลาอิลา ฮะอิลลัลลอฮ์” และสอน ให้เขาตอบคำถามของมลาอิกะฮ์ที่มีหน้าที่สอบถามผู้ตาย เกี่ยวกับเรื่องหลักอฺะก็ดะฮ์ของเขาและอื่น ๆ, ซึ่งการสอน ดังกล่าวนี้ มักจะสอนกันเป็นภาษาอรับ ทั้ง ๆ ที่ผู้ตายขณะที่ มีชีวิตอยู่พูดภาษาอรับไม่ได้, แถมบางครั้ง ผู้สอนเองก็ ไม่รู้เรื่องเหมือนกันว่า ตนสอนผู้ตายว่าอย่างไร เพราะตัว ผู้สอนก็ดกอยู่ในฐานะเดียวกันกับผู้ถูกสอน คือแปลภาษา อรับที่อ่านอยู่ไม่ได้ นอกจากอ่านอัล กุรฺอานได้เพียงอย่าง เดียว, ยิ่งไปกว่านั้น หากผู้ตายเป็นผู้ที่มีคนนับหน้าถือตา มาก ๆ อาทิเช่น เป็นคนรํ่ารวยหรือเป็นโต๊ะครู ก็จะมีคน แย่งกัน “ดัลกีน” ทิละหลาย ๆ คนพร้อมกันจนแมัผู้ตายเอง ก็คงจะฟังไม่รู้เรื่องหรอกว่า เขาอ่านอะไรกัน ทั้ง ๆ ที่ความ จริง หากผู้ดายเคยเป็นโต๊ะครู, และเคยสอนลูกศิษย์ถูกหา มาก่อน ก็ไม่จำเป็นอะไรที่จะด้องไปแย่งกันช่วย “สอน”
ท่านอีก, เพราะถึงอย่างไรท่านก็คงช่ำชองพอที่จะ “สอบ ผ่าน” อยู่แล้ว เพียงแต่ให้ใครสักคนช่วย “เตือนความจำ” ให้แก,ท่านสักเล็กน้อยก็พอแล้ว แด่ที่เวลาผู้ตายเป็นชาวบ้าน ธรรมตา ๆ ที่ไม่มีความรู้อะไรเลย ซึ่งตามหลักการน่าจะ ช่วยกัน “สอน” เขาชํ้ากันหลาย ๆ ครั้งยิ่งเสียกว่าโต๊ะครู กลับปรากฎว่า การตัลก็นให้แก่เขา เพียงแต่ให้ใครสักคนหนึ่ง ไปนั่งอ่าน ๆ พอเป็นพิธีเท่านั่น, ไม่ได้มุ่งหวังที่จะให้เขาได้รับ ประโยชน์จากการตัลก็นด้งกล่าวเลย -..
การ “ด้ลก็น” ตามรูปแบบที่ปฎิบ้ติกันมา จึงมีลักษณะ เป็นการกระทำตาม “สูตรสำเร็จ” ให้ผ่านพ้นไปเป็นครั้ง ๆ มากกว่าที่จะกระทำโดยการคำนึงถึง “เบ้าหมาย” ของ การอ่านด้ลกีนนั่น ดามที่ท่านนักวิชาการได้เสนอแนะไว้ ...
ที่กล่าวมานี้ เป็นเพียงการกล่าวในแง่ของ “การสมมุติ” ว่า การอ่านด้ลกีนนั่น สามารถจะให้ประโยชน์แก่ผู้ตายได้ จริง ๆ ตามที่เราเข้าใจกัน -..
แต่ในแง่ของหลักฐานการอ่านด้ลกีน ก็เป็นเรื่องที่เรา จะได้น่ามาวิเคราะห์กันต่อไปว่า หลักฐานเหล่านั่น มีความ ถูกต้องหรือน่าเชื่อถืออยู่มากน้อยเพียงไร ...
สำหรับข้อเขียนเกี่ยวกับเรื่องการอ่านด้ลก็นเป็นภาษา ไทย เท่าที่ผู้เขียนเคยอ่านเจอนั่น รู้สึกว่าจะไม่มีหนังสือเล่มใด
จะเขียนได้อย่างยืดยาวยิ่งไปกว่าข้อเขียนเรื่อง “ด้ลกีน” ใน หนังสือชื่อ “ข้อโต้แย้งปัญหาศาสนา” ซึ่งเป็นหนังสือที่แปล มาจากหนังสือ “มัสอะละฮ์ อูกฺามา” อันเป็นหนังสือที่ถูก เรียบเรียงโดยนักเขียนชาวอินโดนีเซีย คือ หํจญ'ซีรอณุดดีน อับบาส อีกต่อหนึ่ง ซึ่งในข้อเขียนดังกล่าวนั้น โดยเฉพาะ ในเรื่องการอ่านดัลกีนนี้ มีอยู่หลายประเด็นที่เราจำเป็นจะ ต้องชี้แจงข้อเท็จจริงให้ท่านผู้อ่าน และผู้ที่เคยอ่านหนังสือ เล่มนั้นไต้รับทราบกันไว้ -..
และเนื่องจากดัวผู้เขียนหนังสือ “มัสอะละฮ์ อูกะมา” เป็นผู้ที่มีแนวทัศนะยิดติดกับเรื่องมัษฮับจนเกินไป ทั้งๆที่ สังเกตดูแล้วเห็นว่า ท่านมีความรู้และวิชาการด้านคาสนา กว้างขวางพอสมควร แต่เมื่อท่านเกิดไปมองเห็น “มัษฮับ” ว่าเป็นสิ่งที่มีคุณค่าเหนือกว่าซุนนะฮ์หรือแบบอย่างของท่าน รชูลุลลอฮ์ ซ.ล.เสียแล้ว ข้อเขียนของท่านในหนังสือดังกล่าว ในหลายๆ'เรื่อง จึงมีลักษณะที่เป็นการ “ข้ดขา” กันเอง เพราะความไม่แน่นอนและขาดจุดยืนของผู้เขียน. บางครั้ง ก็มีการ “บิดเบือน” ข้อเท็จจริงของหลักฐานอย่างชัดแจ้ง และยิ่งไปกว่านั้น บางตอนก็มีลักษณะ “ก้าวร้าว” ต่อผู้อื่น, ไม่ว่าจะเป็นเคาะฮาบะฮ์หรือแม้กระทั้งตัวท่านอิหม่ามซาฟีอีย์ เอง ...
และเนื่องจากดัวผู้เขียนหนังสือ “มัสอะละฮ์ อูกะมา” เป็นผู้ที่มีแนวทัศนะยิดติดกับเรื่องมัษฮับจนเกินไป ทั้งๆที่ สังเกตดูแล้วเห็นว่า ท่านมีความรู้และวิชาการด้านคาสนา กว้างขวางพอสมควร แต่เมื่อท่านเกิดไปมองเห็น “มัษฮับ” ว่าเป็นสิ่งที่มีคุณค่าเหนือกว่าซุนนะฮ์หรือแบบอย่างของท่าน รชูลุลลอฮ์ ซ.ล.เสียแล้ว ข้อเขียนของท่านในหนังสือดังกล่าว ในหลายๆ'เรื่อง จึงมีลักษณะที่เป็นการ “ข้ดขา” กันเอง เพราะความไม่แน่นอนและขาดจุดยืนของผู้เขียน. บางครั้ง ก็มีการ “บิดเบือน” ข้อเท็จจริงของหลักฐานอย่างชัดแจ้ง และยิ่งไปกว่านั้น บางตอนก็มีลักษณะ “ก้าวร้าว” ต่อผู้อื่น, ไม่ว่าจะเป็นเคาะฮาบะฮ์หรือแม้กระทั้งตัวท่านอิหม่ามซาฟีอีย์ เอง ...
ในที่นี้ ผู้เขียนจะขอยกตัวอย่างของสิ่งที่ได้กล่าวมานี้
สัก 3 เรืองดังนี -..............
สัก 3 เรืองดังนี -..............
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น