โดยอ. ปราโมทย์ ศรีอุทัย
1. ในเรื่องการ ‘‘ละหมาดตะรอเวี้ยะห้” ท่านได้กล่าวไว้ว่า -..
(3) “ละหมาดตะรอเวี้ยะห์นั้น เป็นละหมาดหนึ่ง ที่ท่านนบีให้ความสนใจมาก อีกทั้ง ท่านยังชอบที่จะให้ ประชากรของท่านร่วมกันกระท่า” -..
(ดู ข้อโต้แย้งปัญหาศาสนา เล่มที่2 หน้าที่ 5 จากคำแปลของอาจารย์ อับดุลกะรีม วันแอเลาะ)
จากคำกล่าวของท่านตอนนี้ บ่งชี้ให้เห็นว่า การละหมาดตะรอเวี้ยะห้ใน'ทัศนะของท่าน เป็นชุนนะฮ์หรือแบบอย่างของท่านรชูลุลลอฮ์ ช.ล. เพราะเคยมีการกระทำกันมาแล้ว
ในสมัยของท่านนบี, และท่านนบีเองยังส่งเสริมให้มีการกระทำกัน, ไม่ว่าในลักษณะการกระทำเพียงคนเดียวหรือร่วมกันกระทำ (ญะมาอ.ะฮ์) -..
แต่พอพุดมาถึงเรื่อง “บิดอุะฮ์” และเป็นตอนที่ล้างถึง แบบอย่างของคุละฟาอุรุ รอชิดีน ชึ่งท่านเรียกว่า เป็น บิดอุะฮ์หะสะนะฮ์หรือบิดอุะฮ์ที่ดีตามทัศนะของท่าน กลับมี ข้อความว่า..-
ข. “การละหมาดดะรอเวี้ยะห์รวมกันในเดือนรอมฎอน
ซึ่งเริ่มโดยท่านอุมีรุ”...
“สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ เป็นเรื่องบิดอฺะฮ์ เพราะไม่เคยมีมา ในยุคของท่านนบิ และท่านนบีก็ไม่เคยสั่ง ...”
(ดู ข้อโต้แย้งปัญหาศาสนา เล่มที่3 หน้าที่ 33)
(3) “ละหมาดตะรอเวี้ยะห์นั้น เป็นละหมาดหนึ่ง ที่ท่านนบีให้ความสนใจมาก อีกทั้ง ท่านยังชอบที่จะให้ ประชากรของท่านร่วมกันกระท่า” -..
(ดู ข้อโต้แย้งปัญหาศาสนา เล่มที่2 หน้าที่ 5 จากคำแปลของอาจารย์ อับดุลกะรีม วันแอเลาะ)
จากคำกล่าวของท่านตอนนี้ บ่งชี้ให้เห็นว่า การละหมาดตะรอเวี้ยะห้ใน'ทัศนะของท่าน เป็นชุนนะฮ์หรือแบบอย่างของท่านรชูลุลลอฮ์ ช.ล. เพราะเคยมีการกระทำกันมาแล้ว
ในสมัยของท่านนบี, และท่านนบีเองยังส่งเสริมให้มีการกระทำกัน, ไม่ว่าในลักษณะการกระทำเพียงคนเดียวหรือร่วมกันกระทำ (ญะมาอ.ะฮ์) -..
แต่พอพุดมาถึงเรื่อง “บิดอุะฮ์” และเป็นตอนที่ล้างถึง แบบอย่างของคุละฟาอุรุ รอชิดีน ชึ่งท่านเรียกว่า เป็น บิดอุะฮ์หะสะนะฮ์หรือบิดอุะฮ์ที่ดีตามทัศนะของท่าน กลับมี ข้อความว่า..-
ข. “การละหมาดดะรอเวี้ยะห์รวมกันในเดือนรอมฎอน
ซึ่งเริ่มโดยท่านอุมีรุ”...
“สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ เป็นเรื่องบิดอฺะฮ์ เพราะไม่เคยมีมา ในยุคของท่านนบิ และท่านนบีก็ไม่เคยสั่ง ...”
(ดู ข้อโต้แย้งปัญหาศาสนา เล่มที่3 หน้าที่ 33)
จะเห็นได้ว่า พอมาถึงตอนนี้ การละหมาดตะรอเวี้ยะห์ ร่วมกันกลับกลายเป็น “บิดอุะฮ์” ไปเสียแล้ว เพราะท่าน อ่างว่า “ไม่เคยมีมาในยุคของท่านนบิ และท่านนบิก็ไม่เคยสั่งไว้ -..
ตกลง ผู้อ่านก็เลยไม่รู้เรื่องว่า การละหมาดตะรอเวี๊ยะห์ รวมกันตามหลักการของอิสลามนั้น เป็น “ชุนนะฮ์” หรือ “บิดอุะฮ์” กันแน่?
แล้วอย่างนี้ หากไม่เรียกว่าเป็นการเขียนแบบ “ขัดขา” ตัวเองแล้ว ก็ไม่รู้จะเรียกอย่างไรอีก ...
2. ในประเด็นเรื่องจำนวนร็อกอุะฮ์ของนมาชตะรอเวี้ยะห์ ท่านผู้นี้ได้อ้างหลักฐานจฺากการรายงานของท่านยะซีด บิน รุมาน ซึ่งท่านอิหม่ามมาสีก ได้ท่าการบันทึกไว้ในหนังสือ “อัล มุวัฎเฎาะอ์” ของท่าน เล่มที่ 1 หน้า 138 (แต่ฉบับที่ 5 อยู่ในมีอผู้เขียน เป็นเล่มที่ 1 หน้า 105) มีข้อความว่า .-.
كَ نَ النَّا سُ ىَقُوْ مُوْ نَ فِىْ زَمَنِ عُمَرَ بْنِ اْلخَطَّا بِ ِبثَلاَ ثٍ وَ عِشْرِ يْنَ رَكْعَةً
“ประชากรในสมัยของท่านอุมัรฺ ยิบนุลค็อฎฎ็อบ ได้ นมาช (ตะรอนี้ยะห้) 23 ร็อกอุะฮ์”
ต่อจากนั้น ท่านก็ได้ท่าการขยายความโดยทึกทักเอา
เองว่า ...
“และนี่คือที่มาแห่งจำนวนร่อกะอัตของการละหมาด ตะรอนี้ยะห์, ซัยยิดินาอุมัรฺคือ ศอฮาบะฮ์ของท่านนะบี, เป็น ค่อลีฟะฮ์ท่านที่สอง ท่านได้มีคำสั่งให้ทำการละหมาดตะรอ เวี้ยะห์ 20 ร่อกะอัด จึงชี้ให้เห็นว่าท่านชัยยิดินาอุมัรฺนั้น ท่านรู้ว่านะบีทำการละหมาดตะรอนี้ยะห์ 20 ร่อกะอัด ...”
(ดูข้อโต้แย้งปัญญหาศานา เล่มที่2 หน้าที่ 9)
“ประชากรในสมัยของท่านอุมัรฺ ยิบนุลค็อฎฎ็อบ ได้ นมาช (ตะรอนี้ยะห้) 23 ร็อกอุะฮ์”
ต่อจากนั้น ท่านก็ได้ท่าการขยายความโดยทึกทักเอา
เองว่า ...
“และนี่คือที่มาแห่งจำนวนร่อกะอัตของการละหมาด ตะรอนี้ยะห์, ซัยยิดินาอุมัรฺคือ ศอฮาบะฮ์ของท่านนะบี, เป็น ค่อลีฟะฮ์ท่านที่สอง ท่านได้มีคำสั่งให้ทำการละหมาดตะรอ เวี้ยะห์ 20 ร่อกะอัด จึงชี้ให้เห็นว่าท่านชัยยิดินาอุมัรฺนั้น ท่านรู้ว่านะบีทำการละหมาดตะรอนี้ยะห์ 20 ร่อกะอัด ...”
(ดูข้อโต้แย้งปัญญหาศานา เล่มที่2 หน้าที่ 9)
การนำเอาหะดีษบทนี้มาเป็นหลักฐานเรื่องจำนวน ร็อกอุะฮ์ของนมาซตะรอนี้ยะห์ว่า จะต้องท่า 20 ร็อกอุะฮ์ แล้วกล่าวสรุปเอาเองเป็นตุเป็นตะต่อไปในท่านองว่า ท่าน อุมัรฺ ร.ฎ.ได้ใช้ให้ประชากรในสมัยของท่าน ท่านมาช ตะรอนี้ยะห์ 20 ร็อกอุะฮ์แน่นอน และท่านอุมัรฺ ร.ฎ.จะต้อง ได้เห็นหรือได้รับฟังสิ่งนี้มาจากท่านรซูลุลลอฮ์ ช.ล. ...นั้น เป็นการบิดเบือนหลักฐานโดยเจตนาอย่างชัดแจ้ง เพราะ นอกจากหะดีษบทนี้จะเป็นหะดีษอ่อนอันเนื่องมาจากการ
“ขาดตอน” หรือ “อินกิฎออุ” ระหว่างยะซีด บิน รุมาน และท่านอุมัรฺ อิบนุล ค็อฎฎ็อบ ร.ฎ.แล้ว (ท่านอุมัรฺ สิ้นชีวิต ในปี ฮ.ค. 23 และท่านยะซีด สิ้นชีวิตในปี ฮ.ค. 130) ผู้เขียน ยังสงสัยและอยากจะรู้เหลือเกินว่า ทำไมท่านผู้เขียนหนังลือ “มัสอะละฮ์ อูกะมา” จึงไม่กล้านำเอา “คำสั่งจริง ๆ” ของ ท่านอุมัรฺชึ่งเปีนหะดีษที่เคาะเหี้ยะห์ และมีบันทึกไว้ในหนังลือ “มุวัฎเฎาะฮ์” ของท่านอิหม่ามมาลิกเช่นเดียวกัน, แถมอยู่ ติดกันกับหะดีษของท่านยะซีด บิน รุมานเสียด้วย มาลง บันทึกไว้ในหนังสือเล่มดังกล่าวของท่านแทนการโมเมสรุป เอาเอง ถ้าหากท่านมีความบริสุทธ์ไจในการเผยแพรวิชาการ ของคาสนา และไม่มีเจตนาที่จะบิดเบิอนหลักฐาน?
หรือว่า, คำสั่งจริง ๆ ของท่านอุมัรฺนั้น มันเกิดไป “หักล้าง” ต่อความเชีอถือของท่าน, ท่านจึงไมกล้านำมัน มาลงบันทึกไว้ให้ผู้อ่านเห็น?
เพราะท่านอิหม่ามมาลิก ได้บันทึก “ของจริง” มา จากรายงานของท่านชาอิบ อิบนุยะซีด ว่า -..
أَ مَرَ عُمَرُ بْنُ الْخْطَّا بِ أُ بَىَّ ْبنَ كَعْبٍ وَتَمِمًا الدّا رِىَّ أَنيَّقُوْ ماَ لِنَّا سِ بِإِ حْدَ ى عَشْرَةً
“ท่านอุมัรฺ อิบนุล ค็อฎฎ็อบ ร.ฎ.ไต้มีคำสั่งให้ท่าน อุบัยย์ อิบนุกะอฺบิน และท่านตะมีม อัด ดารืย์ ให้ทั้งสอง (ท่าหน้าที่) เป็นอิหม่าม นำประชากรนมาซ (ตะรอ1วี้ยะห์ และวิตรุ) เพียง 11 ร็อกอุะฮ์”
(ดู มุวัฏเฏาะห์ ของท่านอิหม่ามมาลิก เล่มที่ 1 หน้า 105)
3. ในเรื่องของการทำ “เมาลิด’’ ท่านผู้เขียนหนังสือ “มัสอะละฮ์ อูกะมา’’ ไต้กล่าวไว้ดอนหนึ่งว่า ...
“คนที่ไม่มีอีหม่าน หรืออีหม่านบอบบาง เขาจะไม่ทำ เมาลิดนะบิ ศ็อลฯ นะอูชุบิ้ลแลฮ์”
(ดู ข้อโต้แย้งปัญยหาศานา เล่มที่ 1 หน้าที่ 118 จากสำสวนการแปลของอาจาราย์ อับดุลการี วันแอเลาะ)
แสดงว่า ท่านผู้นี้ไต้ถือเอาเรื่องการท่าเมาลิด เป็น มาตรการวัดอีหม่านของมุสลิมเรา เพราะท่านกล่าวว่า ผู้ที่ ไม่ทำเมาลิดนะบีอย่างที่ท่านกำลังส่งเสริมให้กระท่ากันอยู่ เป็นผู้ที่ไม่มีอีหม่านหรืออีหม่านบอบบาง,
ถ้าเราจะว่ากันตามกฎเกณฑ์ข้อนี ก็ย่อมหมายถืงว่า ประชากรมุสลิมในยุคสามศตวรรตแรกที่ท่านรซูลุลลอฮ์ ช.ล.ไดให้การรับรองว่า เป็นยุคที่เลอเลิศที่สุด ล้วนแล้วแต่ เป็นผู้ที่ไม่มีอีหม่าน หรืออีหม่านบอบบางกันทั้งนั้น, ไม่ว่า จะเป็นระดับอัลคุละฟาฮ์ อัรุรอชิดีนทั้งสี่, เคาะฮาบะฮ์ผู้
ทรงเกียรติท่านอื่น ๆ, บรรดาตาบิอีน หรือแม้กระทั่งท่าน อิหม่ามทั้งสี่ท่านรวมทั้งท่านอิหม่ามชาหิเอีย์เองด้วย ต่างก็ เป็นผู้ที่ไม่มีอีหม่านหรืออีหม่านบอบบางกันถ้วนหน้า เพราะ ท่านเหล่านี้ ไม่เคยจัดงานเมาลิด, แถมพวกท่านยังไม่เคย ได้รับรู้ด้วยว่า งานเมาลิดคืออะไร?
เพราะงานเมาลิดที่แท้จริงนั้น ถูกริเริ่มจัดขึ้นเป็นครั้งแรก ในประเทศอียิปต์ เมื่อปี อ.ค. 362, โดยสุลฎอนมุอิซ ลิดีนิลลาฮ์ แห่งวงศ์ฟาฎิมีย์ยะฮ์ ..-
เราจะเอากันอย่างนี้หรือ?
นี้คือตัวอย่างเพียงเล็ก ๆ น้อย ๆ ที่ผู้เขียน,ได้,นำมาบอก กล่าว เพื่อต้องการจะ ให้ท่านผู้อ่านที่มีใจบริสุทธิ์ในเรื่อง คาสนา ได้มองเห็น “จุดยืน” ของหนังสือ “มัสอะละฮ์ อูกะมา” เล่มนั้น ...